fbpx

World

4 Mar 2022

‘ชุมชนจินตกรรม’ ของวลาดิเมียร์ ปูติน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเหตุผลการบุกยูเครนของรัสเซียผ่านรากความเชื่อทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแก่นคิดของปูตินที่ใช้ในการปกครองเสมอมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Mar 2022

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

World

2 Mar 2022

การศึกษานโยบายต่างประเทศไทยตาม research program ontological security ของอาจารย์พีระ เจริญวัฒนนุกูล (หรือ ตามแนวคิด – ต่อทฤษฎี ฯ ตอนที่ 3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการสร้างองค์ความรู้ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยใช้ research program ผ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูล

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

2 Mar 2022

Global Affairs

20 Feb 2022

จากยูเครนสู่ปัตตานี กรณี Gerasimov Doctrine และแผนบันได 7 ขั้น

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองสถานการณ์ความขัดแย้งยูเครน ซึ่งตกเป็นสมรภูมิการสงครามผสมผสาน (hybrid warfare) ระหว่างชาติมหาอำนาจ พร้อมถอดบทเรียนสู่กรณีปัตตานี

ปิติ ศรีแสงนาม

20 Feb 2022

World

2 Feb 2022

สีจิ้นผิงกับคำสาปสามชั่วคน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘คำสาปสามชั่วอายุคน’ ในยุคสีจิ้นผิง ว่า ความเจริญรุ่งเรืองของจีนจะต้องเผชิญกับจุดจบตามคำสาปหรือไม่ หรือกำลังจะเข้าสู่ ‘ยุคใหม่’ ที่จีนจะแข็งแกร่งขึ้นมา เปิดยุคใหม่ต่อจากยุคปฏิรูปและเปิดประเทศ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

2 Feb 2022

World

20 Jan 2022

จับตาอนาคตไทยและโลก 2022 : จีน-สหรัฐ เดิมพันใหญ่ – ความหวังกลางวิกฤตเงินเฟ้อ – สมรภูมิเดือดเลือกตั้งไทย

เปิดวง Round Table ชวนสนทนาจับตาอนาคตไทยและโลกปี 2022 กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร – ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2022

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

World

22 Nov 2021

กว่าจะเป็นทางรถไฟล้านช้าง: บทเรียนจากแอฟริกา สู่ สปป.ลาว

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองเส้นทางรถไฟล้านช้าง เชื่อมโยงจีนกับ สปป.ลาว ที่จะเปิดให้บริการวันที่ 2 ธันวาคม 2021 โดยย้อนถอดบทเรียนถึงเส้นทางรถไฟต่างๆ ในทวีปแอฟริกาที่จีนเข้าไปลงทุน

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Nov 2021

Interviews

17 Nov 2021

Exclusive: Maria Ressa ผู้คว้าโนเบลสันติภาพ 2021 – เมื่อโลกฟูเฟื่องด้วยเรื่องเท็จและเผด็จการ ‘นักข่าว’ จึงต้องเป็นความหวัง

101 สัมภาษณ์พิเศษ Maria Ressa นักข่าวฟิลิปปินส์ผู้คว้ารางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี 2021 ถึงการต่อสู้ของเธอและสำนักข่าว Rappler ในโลกที่เต็มไปด้วยความเท็จและการผงาดของอำนาจนิยม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

17 Nov 2021

World

12 Nov 2021

ชวนคิดนอกกรอบ COP26: เมื่อการแข่งขันอาจช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ดีกว่าความร่วมมือ?

ส่งท้ายการประชุม COP26 จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา เขียนถึง ความยากลำบากในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกรอบพหุภาคี และการพัฒนา ‘ความร่วมมือแบบคลับ’ ที่มีแนวคิด ‘การเติบโตสีเขียว’ เป็นแก่น และใช้การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ในการขับเคลื่อนความร่วมมือภายในคลับ

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

12 Nov 2021

Social Issues

3 Nov 2021

รัฐบาลไทยสัญญาอะไรไว้ในเวทีโลก: สิ่งที่ควรรู้ในกลไกตรวจสอบสิทธิมนุษยชน UPR รอบ 3

ดนย์ ทาเจริญศักดิ์ ชวนทำความเข้าใจกลไก UPR และทบทวนการบ้านของรัฐบาลไทยก่อนจะเข้าสู่การตรวจสอบครั้งที่ 3

ดนย์ ทาเจริญศักดิ์

3 Nov 2021

World

11 Oct 2021

ชวนคุยเรื่อง AUKUS: ว่าด้วยศึกภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังไม่มีคำตอบ และอนาคตการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ที่ไม่แน่นอน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ชวนคิดต่อว่าด้วยผลที่ยัง ‘คาดการณ์ได้ยาก’ ของยุทธศาสตร์ AUKUS ต่อพลวัตทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอินโดแปซิฟิก และความท้าทายต่อการไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ระดับโลกที่ตามมาจากความร่วมมือเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ระหว่างสามประเทศพันธมิตร

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

11 Oct 2021

World

8 Oct 2021

ไทยในเกมภูมิรัฐศาสตร์โลก: ยุทธศาสตร์ 3M

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ยุทธศาสตร์ 3M ยุทธศาสตร์สำหรับการตั้งหลักไทยให้มั่นในโลกที่การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสองขั้วอำนาจจีน-สหรัฐฯ ดำเนินไปอย่างเข้มข้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Oct 2021

World

14 Sep 2021

20 ปีเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001-2021 เราเรียนรู้อะไรได้บ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม ถอดบทเรียนหลังครบรอบ 20 ปีของเหตุการณ์วินาศกรรมสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2001 หรือเหตุการณ์ 9/11

ปิติ ศรีแสงนาม

14 Sep 2021
1 5 6 7 16

RECOMMENDED

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

101 Side-Seeing

2 Apr 2024

101 Side-Seeing Ep.6 : ชวนนั่ง ‘WHOOSH’ รถไฟความเร็วสูงสายแรกของอินโดนีเซียและอาเซียน

101 Side-seeing ตอนนี้ พาไปสัมผัสอีกขั้นแห่งความเร็ว กับ Whoosh ขบวนรถไฟความเร็วสูง จากต้นทางที่กรุงจาการ์ตา ไปจนถึงเมืองบันดุง บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยความเร็วสูงสุด 350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จึงนับได้ว่าเป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงสายแรกที่แท้จริงของอินโดนีเซียและอาเซียน

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

2 Apr 2024

World

11 Apr 2024

ความล้มเหลวในการโอนย้ายธุรกิจออกจากกองทัพอินโดนีเซีย

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความพยายามอันล้มหลวในการปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ด้านการโอนย้ายธุรกิจออกจากมือทหาร ซึ่งสะท้อนความแข็งแกร่งของอำนาจกองทัพที่แผ่อิทธิพลครอบการเมืองอินโดนีเซีย จนกิจการทหารเป็นสิ่งที่แตะต้องได้ยาก

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save