fbpx

Global Affairs

10 Dec 2019

4 คำทำนาย จีน-อเมริกายุค 2020 จะขยับโลกอย่างไร

สันติธาร เสถียรไทย ชวนมองเรื่องจีน-อเมริกาผ่าน ‘คำทำนาย’ สี่ประการสำหรับอนาคตของสองยักษ์ใหญ่ และเทรนด์สำคัญที่อาจจะขยับโลกในยุค 2020

สันติธาร เสถียรไทย

10 Dec 2019

Global Affairs

28 Nov 2019

30 ปีกำแพงเบอร์ลินล่มสลาย โลกเรียนรู้อะไร : สุรชาติ บำรุงสุข

สมคิด พุทธศรี ชวนสุรชาติ บำรุงสุข รำลึก 30 ปีการพังทลายของกำแพงเบอร์ลิน และถอดบทเรียน ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 20’ เพื่อรับมือกับ ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 21’

สมคิด พุทธศรี

28 Nov 2019

Global Affairs

17 Sep 2019

ความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงในทะเลจีนใต้ : หมากสำคัญในเกมมหาอำนาจ จีน-สหรัฐฯ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจีน-สหรัฐฯ เหนือทะเลจีนใต้ อันเป็นหนึ่งในหมากสำคัญของการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Sep 2019

Global Affairs

9 Aug 2019

สกุลเงิน Libra ของ Facebook กับศึกชิงผู้นำโลกระหว่างจีน-สหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง “Libra” เงินสกุลดิจิทัลที่ Facebook วางแผนจะสร้าง กับสถานการณ์ที่อาจพลิกโฉมระบบการเงิน การธนาคาร และวงการเทคโนโลยีโลก และอาจโหมกระพือให้สงครามการชิงความเป็นผู้นำโลกระหว่างจีน-สหรัฐฯ หนาวเย็นกว่าเดิม

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Aug 2019

Interviews

31 Jul 2019

สนทนาข้ามศาสตร์ เมื่อ IR ปะทะ IL : ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล + จิตติภัทร พูนขํา (3)

ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล และ จิตติภัทร พูนขำ ปิดท้ายบทสนทนาข้ามศาสตร์ ด้วยการพูดคุยถึงที่ทางของประเทศไทยในกฎหมายระหว่างประเทศ และแนวโน้มของความรู้ว่าด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ ในสายตาของนักรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

สมคิด พุทธศรี

31 Jul 2019

Interviews

30 Jul 2019

สนทนาข้ามศาสตร์ เมื่อ IR ปะทะ IL : ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล + จิตติภัทร พูนขํา (2)

ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล และจิตติภัทร พูนขำ สนทนาข้ามศาสตร์กันอย่างต่อเนื่องถึงบทบาทของกฎหมายระหว่างประเทศที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและเอกชน

สมคิด พุทธศรี

30 Jul 2019

Interviews

29 Jul 2019

สนทนาข้ามศาสตร์ เมื่อ IR ปะทะ IL : ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล + จิตติภัทร พูนขํา (1)

ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล สนทนาข้ามศาสตร์กับ จิตติภัทร พูนขำ เพื่อตอบคำถามสำคัญว่า ในระเบียบโลกใหม่ กฎหมายระหว่างประเทศเป็นกลไกสำคัญที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของโลกให้ดียิ่งขึ้น หรือเป็นเพียงหลักการสวยหรูที่ไร้สภาพบังคับ

สมคิด พุทธศรี

29 Jul 2019

Global Affairs

23 Jul 2019

1 ปีสงครามการค้าสหรัฐฯ-จีน ร้าวลึกลงรากหญ้าไทย

ในวาระ 1 ปีสงครามการค้าสหรัฐ-จีน ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในมิติต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มคนรากหญ้า พร้อมวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม อันจะนำไปสู่สถานการณ์ที่ย่ำแย่กว่านี้ในอนาคต

ปิติ ศรีแสงนาม

23 Jul 2019

Global Affairs

17 Jul 2019

“เราอยู่ในโลกที่เรียกร้องการคิดใหม่ทั้งหมด” – Justin Wood แห่ง World Economic Forum

สมคิด พุทธศรี สนทนากับ Justin Wood แห่ง World Economic Forum ว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 รวมไปถึงเครื่องมือและวิธีคิดใหม่ๆ ในกระบวนการกำหนดนโยบายของประเทศ

สมคิด พุทธศรี

17 Jul 2019

Global Affairs

12 Jul 2019

ความยากในถ้อยคำ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงอิทธิพลและข้อจำกัดของ ‘คำ’ ซึ่งเราใช้นิยามสิ่งต่างๆ นานา เพราะคำหนึ่งคำใช่ว่าจะมีความหมายตายตัวเสมอไป เช่นเดียวกับที่คำหนึ่งคำไม่อาจใช้เป็นมาตรวัดความจริงใดๆ ได้่อย่างถาวร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 Jul 2019

Global Affairs

8 Jul 2019

อาเซียนวางตัวอย่างไร ภายใต้ศึกจีน-สหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงลีลาการทูตของอาเซียน ภายใต้ศึกจีน-สหรัฐ ผ่านการเลือกใช้คำว่า ‘อินโด-แปซิฟิก’ ในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนเมื่อปลายเดือนมิถุนายน เพื่อขยายภาพจำภูมิภาค ถ่วงดุลบทบาทเชิงรุกของจีน และส่งสารถึงประเทศมหาอำนาจ ให้เกิดการร่วมมือ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Jul 2019

Global Affairs

25 Jun 2019

โจมตีเพื่อหาเสียง? : สมการอำนาจ ทรัมป์ v กองทัพ ในปฏิบัติการสู้เพื่อโดรน

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ วิเคราะห์มูลเหตุเบื้องหลังความตึงเครียดระหว่างสหรัฐฯ-อิหร่าน ระลอกล่าสุด ปรากฏการณ์โดรนสหรัฐถูกยิงตกบอกอะไรเกี่ยวกับการเมืองและการทหารของสหรัฐอเมริกาเวลานี้บ้าง

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ

25 Jun 2019

Global Affairs

7 Jun 2019

สงครามการค้าจีน-สหรัฐฯ จะจบอย่างไร?

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงสถานการณ์ล่าสุดของสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐ ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงชิงไหวชิงพริบ พร้อมวิเคราะห์หมากต่อไปของละฝ่าย ว่าสุดท้ายจะนำไปสู่บทสรุปเช่นไร

อาร์ม ตั้งนิรันดร

7 Jun 2019

Interviews

4 Jun 2019

ผู้ลี้ภัยไม่มีสี : คุยกับ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ อดีตหัวหน้าสำนักงานภาคสนาม ซูดานใต้ UNHCR

ประสบการณ์ช่วยเหลือผู้ลี้ภัยจากซูดานใต้กว่า 5 ปีของ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ ช่วยให้สังคมไทยเปิดรับทำความเข้าใจสิทธิมนุษยชนมากขึ้นได้อย่างไร

ธิติ มีแต้ม

4 Jun 2019

Global Affairs

27 May 2019

จากสงครามการค้า สู่สงครามเทคโนโลยี และการช่วงชิงความเป็นผู้จัดระเบียบโลก

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐ ที่พัฒนาเป็นสงครามเทคโนโลยี ไล่เรียงที่มาที่ไปและกลยุทธ์ในกับขับเคี่ยวกันของทั้งสองฝ่าย

ปิติ ศรีแสงนาม

27 May 2019
1 10 11 12 16

RECOMMENDED

Asean

24 Apr 2024

มูดิก (Mudik) : กลับบ้านเกิดวันฮารีรายา ช่วงเวลาที่ถนนทุกสายมุ่งออกจากจาการ์ตา

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงวัฒนธรรม ‘มูดิก’ หรือการกลับบ้านเกิดของชาวมุสลิมอินโดนีเซียในช่วงวันฮารีรายาอีดุลฟิตรี ผ่านการชวนสำรวจที่มาของคำ และจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมนี้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Apr 2024

World

11 Apr 2024

ความล้มเหลวในการโอนย้ายธุรกิจออกจากกองทัพอินโดนีเซีย

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความพยายามอันล้มหลวในการปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ด้านการโอนย้ายธุรกิจออกจากมือทหาร ซึ่งสะท้อนความแข็งแกร่งของอำนาจกองทัพที่แผ่อิทธิพลครอบการเมืองอินโดนีเซีย จนกิจการทหารเป็นสิ่งที่แตะต้องได้ยาก

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save