fbpx

World

4 Apr 2021

ชนใดไม่มีดนตรีกาลยาวเกินสามนาที: ทุนนิยมอุตสาหกรรมดนตรี และ Noise Music

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง เดวิด เพื่อนนักศึกษาฝ่ายซ้าย ผู้เข้าใจวัฒนธรรมไทยด้วยการกินหมากพลูไหว้ศาลเจ้าที่ และมักวิพากษ์ระบบทุนนิยมโลกผ่านรสนิยมทางดนตรี

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

4 Apr 2021

World

29 Mar 2021

เมื่อพระโอรสไดอานาและพระชายาเมแกน ชวนปฏิรูปสถาบันฯ และสื่อแทบลอยด์อังกฤษ

บทสัมภาษณ์ของเจ้าชายแฮร์รีและเมแกน มาร์เคิลสร้างแรงกระเพื่อมต่อราชวงศ์อังกฤษให้ต้องปรับตัวเท่าทันสังคมที่ไม่ยอมรับการเหยียดสีผิวชาติพันธุ์ คล้ายการให้สัมภาษณ์ของเจ้าหญิงไดอานาที่ทำให้เกิดวิกฤตศรัทธาต่อราชวงศ์วินด์เซอร์

สมชัย สุวรรณบรรณ

29 Mar 2021

Thai Politics

25 Mar 2021

ประวัติการต่อสู้เพื่อสิทธิการมีที่อยู่อาศัยในสวีเดน

ปรีดี หงษต้น ชวนมองย้อนประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อสิทธิการมีที่อยู่อาศัยในสวีเดน ซึ่งมีหัวใจสำคัญคือการต่อสู้รวมหมู่ของสหภาพผู้เช่า

ปรีดี หงษ์สต้น

25 Mar 2021

World

12 Mar 2021

ซ้ายหลายเฉดในเขต (ไม่) ปกครองไบรท์ตัน

คอลัมน์ใหม่ ช่วยด้วย เพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง ประเดิมตอนแรกด้วยการเล่าถึง ‘ความเป็นซ้าย’ อันชวนหัวว่าหมายถึงอะไรกันแน่ ผ่านประสบการณ์การศึกษาในมหาวิทยาลัยซัสเซ็กซ์ และการพบพานผองเพื่อนฝ่ายซ้ายในสหราชอาณาจักร

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

12 Mar 2021

Europe

9 Mar 2021

“ทะเล” ของ แพร์ ลาเกอร์ควิสต์ (Pär Lagerkvist, 1891-1974)

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง แพร์ ลาเกอร์ควิสต์ (Pär Lagerkvist, 1891-1974) นักเขียนและสมาชิกราชบัณฑิตยสภาของสวีเดน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี 1951

ปรีดี หงษ์สต้น

9 Mar 2021

Issue of the Age

24 Feb 2021

แผนฉีดวัคซีนสหราชอาณาจักร ยุทธศาสตร์ที่มากกว่าแค่จะเอาชนะไวรัส

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนมองนโยบายวัคซีนโควิด-19 ของสหราชอาณาจักร ที่ทั้งต้องต่อสู้กับกลุ่มปั่นกระแสต้านวัคซีน และเป็นความหวังในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจจากการล็อกดาวน์

สมชัย สุวรรณบรรณ

24 Feb 2021

World

4 Feb 2021

การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย: Scandinavian Design

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ปรีดี หงษ์สต้น เล่าเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยในวงการนักออกแบบและสถาปนิกสแกนดิเนเวีย ช่วงเวลาที่การออกแบบแบบเน้นความเรียบง่ายและใช้วัสตุธรรมชาติ กลายเป็นเอกลักษณ์ฉบับสแกนดิเนเวียและเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก

ปรีดี หงษ์สต้น

4 Feb 2021

World

25 Dec 2020

สหราชอาณาจักรสะบักสะบอม โดนโควิด-เบร็กซิต ปิดท้ายปี 2020

สมชัย สุวรรณบรรณ ย้อนมองปี 2020 ของสหราชอาณาจักร นับจากบอริส จอห์นสันก้าวมาเป็นนายกฯ พร้อมเดินหน้าเจรจาเบร็กซิต จนโคโรนาไวรัสเข้ามาเขย่าโลกเผยให้เห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำ

สมชัย สุวรรณบรรณ

25 Dec 2020

Europe

23 Dec 2020

กรณีคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวในเดนมาร์กกับบทเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง บทเรียนสิ่งแวดล้อมผ่านสถานการณ์การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในฟาร์มมิงค์ของเดนมาร์ก จนเป็นที่มาของคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Dec 2020

101 One-on-One

1 Dec 2020

อ่านฮังการี กับ อรวรา วัฒนวิศาล

101 สนทนากับ ดร. อรวรา วัฒนวิศาล ผู้สนใจศึกษาฮังการี เจ้าของวิทยานิพนธ์ ‘กลุ่มประเทศวิเชกราดกับวิกฤตผู้อพยพในยุโรป: ปัจจัยและกรณีศึกษาฮังการี’ ว่าด้วยฮังการีภายใต้ออร์บาน จนถึงความตึงเครียดที่ตามมาจากการเมืองแบบ illiberal democracy

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Dec 2020

World

30 Nov 2020

Magna Carta หลักศิลาประชาธิปไตย ปฐมบทปฏิรูปสถาบันกษัตริย์อังกฤษ

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึง Magna Carta เอกสารข้อตกลงลดทอนอำนาจของกษัตริย์ให้อยู่ภายใต้กฎหมาย เมื่อกว่า 800 ปีที่แล้ว ที่กลายมาเป็นหลักในการร่างรัฐธรรมนูญของหลายประเทศ

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Nov 2020

World

24 Nov 2020

กูไม่ใช่หญ้าในรองเท้ามึง!: สุภาษิตจากเลียบขั้วโลก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการควบรวมดินแดนภูมิศาสตร์ซัปมี (Sápmi) ของสวีเดน กับการปกครองชนพื้นเมืองโดยมีคริสต์ศาสนาเป็นเครื่องมือ การควบรวมดังกล่าวเป็นเหตุให้ชนพื้นเมืองแสดงการต่อต้าน และบางครั้ง การต่อต้านก็ปรากฏผ่านสุภาษิตที่ผู้คนใช้ในชีวิตประจำวัน

ปรีดี หงษ์สต้น

24 Nov 2020

World

26 Oct 2020

ทำไมตำรวจอังกฤษจึงเป็นมิตรกับประชาชน

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงวัฒนธรรมและปรัชญาวิชาชีพตำรวจอังกฤษ ที่ทำให้ตำรวจอังกฤษได้รับการยกย่องว่าเป็นแบบอย่างที่ดี เพราะมีวิธีการรักษากฏหมายที่มีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับของชุมชนในแต่ละพื้นที่

สมชัย สุวรรณบรรณ

26 Oct 2020

World

22 Oct 2020

อ่านสเปน กับ นุชธิดา ราศีวิสุทธิ์

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ นุชธิดา ราศีวิสุทธิ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรสเปนและลาตินอเมริกันศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนย้อนมองเส้นทางประวัติศาสตร์จากเผด็จการสู่ประชาธิปไตย จนถึงทางแพร่งแห่งความท้าทายในศตวรรษที่ 21 ของสเปน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

22 Oct 2020

World

23 Sep 2020

บัญญัติ 7 ประการของฮิตเลอร์กับสงครามแย่งชิงมวลชน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Sep 2020
1 8 9 10 14

MOST READ

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

Europe

21 Mar 2024

มอดไหม้ในสแกนดิเนเวีย 

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนย้อนสำรวจยุคแห่งการ ‘ล่าแม่มด’ ในสแกนดิเนเวีย ยุคที่ใครก็ตามซึ่งต้องสงสัยว่ามีการกระทำอัน ‘บ่อนทำลาย’ อาจถูกไล่ล่าและประหารชีวิต!

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Mar 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save