fbpx

World

7 Aug 2023

สันติภาพของยูเครนบนทางเลือกแห่งอาวุธนิวเคลียร์: ‘คงครอบครองไว้’ หรือ ‘สละละทิ้งไป’

กฤตวรรณ ประทุม ชวนสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วย ‘การครอบครองไว้’ หรือ ‘การสละละทิ้งไป’ ซึ่งอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครน ที่เคยมีไว้ในครอบครองหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทางเลือกเหล่านี้ส่งผลอะไรต่อการเมืองระหว่างประเทศในยุคหลังสงครามเย็น โดยเฉพาะในสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันนี้

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2023

World

25 Jul 2023

ศัตรูของศัตรูคือมิตร

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างเมืองลือเบกค์ซึ่งอยู่ทางเยอรมนีตอนเหนือ กับประวัติศาสตร์สแกนดิเนเวีย ที่เข้าตำรา ‘ศัตรูของศัตรู ก็คือมิตร!’ โดยแท้

ปรีดี หงษ์สต้น

25 Jul 2023

World

7 Jul 2023

อนาคตของ ‘ระบอบปูติน’ จะถูกม้วนด้วย ‘หิรันตยักษ์’ หรือไม่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความเป็นมาของระบอบปูติน เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันหลังมีการทำสงครามบุกยูเครนและเกิดกบฏวากเนอร์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jul 2023

World

5 Jul 2023

ปากเสียงของแรงงานการศึกษาทั้งฝ่ายซ้ายและขวา: ทวิลักษณ์ของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี จากการรวมชาติถึงสิ้นสุดสงครามเย็น การดำรงอยู่ของสหภาพฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่พลิกผันตีลังกาเป็นรถไฟเหาะไปด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

5 Jul 2023

World

25 Jun 2023

‘แอรโดก์อาน อะเกน’ เปิดม่านการเมืองตุรกีหลังเลือกตั้งใหญ่ กับ ยาสมิน ซัตตาร์

101 สนทนากับ ยาสมิน ซัตตาร์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมทำความเข้าใจการเมืองตุรกีอย่างเข้มข้นกับผู้เชี่ยวชาญ ผลการเลือกตั้งครั้งล่าสุดสะท้อนอะไร และทำไมชัยชนะของแอรโดก์อานจึงเป็นการหักปากกาเซียนนักวิเคราะห์หลายสำนัก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

25 Jun 2023

World

21 Jun 2023

ชวนเที่ยวงานออกแบบที่สวีเดนทางใต้

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น พาเที่ยวงาน Southern Sweden Design Days อันเป็นงานใหญ่ของเหล่าคนในวงการออกแบบของสวีเดน ที่สะท้อนการออกแบบแห่งโลกอนาคต และอีกด้านหนึ่ง อาจหมายถึงการย่างกรายมาของนายทุนด้วย

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Jun 2023

Europe

6 Jun 2023

การเลือกตั้งส่วนท้องถิ่นในอังกฤษ รากหญ้าประชาธิปไตยที่พัฒนากว่าพันปี

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงการปกครองท้องถิ่นของอังกฤษที่มีระบบบริหารหลากหลาย ตามความจำเป็นและความต้องการของชุมชนตามพื้นที่ โดยไม่ยึดระบบ One size fits all

สมชัย สุวรรณบรรณ

6 Jun 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

1 Jun 2023

1 ปี สงครามรัสเซีย-ยูเครน: หนทางสู่สันติภาพที่ไม่ลงรอย

Delegation of the European Union to Thailand x 101 ชวนทบทวน 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครนและหนทางสู่สันติภาพ ผ่านมุมมองยุโรป มุมมองของกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ และมุมมองจากพื้นที่จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Jun 2023

Politics

30 May 2023

ในโลกประชาธิปไตย… ‘ประธานสภา’ มาจากไหน?

101 PUB ชวนสำรวจว่า ‘ประธานสภาผู้แทนราษฎร’ ในต่างประเทศมีที่มาจากพรรคการเมืองใด อายุเท่าไร และมีประสบการณ์งานสภามากน้อยเพียงใด เพื่อเข้าใจและร่วมขบคิดว่า ‘ประธานสภาคนต่อไปของไทยควรมาจากไหน?’

วรดร เลิศรัตน์

30 May 2023

World

23 May 2023

การเปลี่ยนแปลงอาจมาจากเบื้องบน

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจอุตสาหกรรมนมของเดนมาร์ก ที่โยงไปถึงประวัติศาสตร์การสูญเสียดินแดนหลังเดนมาร์กพ่ายสงคราม!

ปรีดี หงษ์สต้น

23 May 2023

Europe

2 May 2023

เงินบำนาญถ้วนหน้า ภาระของรัฐสวัสดิการยุโรปยุคสังคมสูงวัย

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงการประท้วงระบบเงินบำนาญถ้วนหน้าที่ฝรั่งเศส ซึ่งสะท้อนให้เห็นความสำคัญของสวัสดิการในยุโรปมาจนถึงไทย

สมชัย สุวรรณบรรณ

2 May 2023

Social Issues

1 May 2023

ในโลกทุนนิยม ครูไม่ใช่ข้าราชการ แต่เป็นแรงงาน: การเติบโตและเสื่อมถอยของสหภาพแรงงานการศึกษาในอังกฤษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในสหราชอาณาจักร ในวันที่คนหลงลืมว่าครูก็เป็นแรงงาน สหภาพฯ เป็นกลไกสำคัญที่บุคลากรทางการศึกษาใช้ต่อรองกับรัฐ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

1 May 2023

World

27 Apr 2023

คงจะไม่มีตัวแบบการเมืองนอร์ดิคตายตัว

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจโลกการเมืองในนอร์เวย์ และประชาธิปไตยสมัยใหม่ที่ไม่ใช่ว่าได้มาโดยง่าย

ปรีดี หงษ์สต้น

27 Apr 2023

World

27 Apr 2023

“เราไม่สามารถชนะสงครามด้วยกวีนิพนธ์ แต่กวีเป็นประจักษ์พยานต่อสงครามได้” ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ กวียูเครนผู้ต่อต้านจักรวรรดินิยมรัสเซีย

ไกรวรรณ สีดาฟอง เขียนถึง เรื่องราวของ ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ นักเขียนยูเครนผู้สะท้อนภาพความพลิกผันอย่างรุนแรงและความสามัญธรรมดาที่ดำเนินไปของชีวิตผู้คนเมื่อสงครามและการทำลายล้างเข้ามาสู่โลก ผ่านผลงานนวนิยาย ความเรียง บทกวีและบทเพลง และเชื่อว่า นักเขียนมีบทบาทสำคัญในการต่อสู้กับท่าทีอาณานิคมของรัสเซีย โดยการสร้างอัตลักษณ์ของประเทศผ่านศิลปะ

ไกรวรรณ สีดาฟอง

27 Apr 2023

World

24 Apr 2023

‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ในมุมทูตยุโรป: 1 ปีที่สันติภาพยังคงเลือนราง

ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Apr 2023
1 2 3 14

RECOMMENDED

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save