fbpx

World

30 Nov 2023

‘หยุดยิง’ คือหนทางที่พาเรากลับออกจากนรก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ทางออกของสงครามฮามาส-อิสราเอลว่าคือการหยุดยิงและเจรจา แต่จุดสำคัญคือทำอย่างไรที่ทั้งสองฝ่ายจะเข้าสู่การเจรจาได้สำเร็จ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

30 Nov 2023

World

28 Nov 2023

รัฐธรรมนูญวิกฤตที่อิสราเอล

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองวิกฤตรัฐธรรมนูญในอิสราเอลก่อนการโจมตีของฮามาส เมื่อรัฐบาลเนทันยาฮูเจอการต่อต้านครั้งใหญ่จากประชาชนหลังพยายามปฏิรูปตุลาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

28 Nov 2023

World

27 Nov 2023

ความสัมพันธ์อินเดีย-พม่าในวันที่รัฐบาลทหารเรืองอำนาจ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทบทวนความสัมพันธ์อินเดีย-พม่า ตั้งแต่ได้รับเอกราชจนเกิดการรัฐประหารในพม่าครั้งล่าสุด ท่าทีของอินเดียต่อพม่าแปรเปลี่ยนไปอย่างไรบ้างในแต่ละช่วงเวลา

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Nov 2023

World

13 Nov 2023

เศรษฐกิจพัฒนา แต่ชีวิตคนธรรมดาติดลบ: ทำความรู้จักระบบสวัสดิการผลิตภาพนิยมในเกาหลีใต้

โกษม โกยทอง ชวนทำความรู้จักระบบสวัสดิการในเกาหลีใต้ สำรวจว่าในประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสวยหรู รัฐออกแบบนโยบายในการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชนมากน้อยแค่ไหน และไทยสามารถนำมาปรับใช้ได้อย่างไรบ้าง

โกษม โกยทอง

13 Nov 2023

World

3 Nov 2023

หรืออินเดียกำลังจะสูญเสียพันธมิตรในเอเชียใต้อีกครั้ง?: ในวันที่การเมืองมัลดีฟส์ผลัดใบ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและมัลดีฟส์ที่กำลังแปรเปลี่ยนไป ทั้งจากการเมืองภายในและการแผ่อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีน สถานะนำของอินเดียในภูมิภาคเอเชียใต้จึงกำลังถูกสั่นคลอน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 Nov 2023

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

World

16 Oct 2023

การเดินทางของกิมจิ: เมื่อเกาหลีใต้อยากเปลี่ยนเศษอาหารให้เป็นพลังงาน

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงวิธีการจัดการขยะเศษอาหารของเกาหลีใต้ ที่สะท้อนวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของคนเกาหลี และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่ล้ำสมัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

16 Oct 2023

Asia

12 Oct 2023

เฮบบรอนกับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเหมือนที่แตกต่าง

ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ เล่าเรื่องจากการไปเที่ยวเมืองเฮบบรอน ในอิสราเอล ที่ทำให้เห็นภาพความขัดแย้งในพื้นที่ และเทียบเคียงได้กับกรณีสามจังหวัดภาคใต้

ดวงยิหวา อุตรสินธุ์

12 Oct 2023

Asia

12 Oct 2023

ชีวิตแรงงานไทยเปราะบางอย่างยิ่งต่อสงคราม: คุยกับ Yahel Kurlander ผู้ศึกษาชีวิตแรงงานไทยในอิสราเอล

101 คุยกับ Yahel Kurlander ผู้ศึกษาชีวิตแรงงานไทยในอิสราเอล ถึงความเปราะบางของชีวิตของแรงงานไทยทั้งในภาวะปกติและในช่วงสงคราม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

12 Oct 2023

World

29 Sep 2023

เบื้องลึกนายฟุมิโอะ คิชิดะ ปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สอง                                              

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สองของรัฐบาลคิชิดะ ที่สะท้อนวิถีการรักษาอำนาจในการเมืองญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์

29 Sep 2023

World

21 Sep 2023

‘ภารัต’ กับการประชุม G20: ก้าวย่างสู่การเป็นมหาอำนาจใหม่ของโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการประชุม G20 ประจำปี 2023 ที่อินเดียเป็นเจ้าภาพ ท่ามกลางการจัดประชุมที่เต็มไปด้วยแรงกดดันและความท้าทายมากมาย อะไรคือความสำคัญของการประชุมรอบนี้ อินเดียประสบความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน และอินเดียได้อะไรจากการเป็นเจ้าภาพครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

21 Sep 2023

World

18 Sep 2023

ลบแผลอาณานิคมด้วยชาตินิยม: อินเดียและภารัตในทัศนะของ สุรัตน์ โหราชัยกุล

หลากหลายความเห็นน่าสนใจเมื่อผู้คนเห็นว่าอินเดียใช้ชื่อ ‘ภารัต’ ในการออกบัตรเชิญผู้นำกลุ่ม G20

ภารัตมีความหมายอะไร แฝงนัยยะของชาตินิยมฮินดูไหม หรือถึงที่สุด นี่อาจเป็นคำประกาศกึกก้องที่บอกโลกในการจะลบแผลอาณานิคมที่ตะวันตกทิ้งไว้

101 สนทนากับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ว่าด้วยประเด็นชาตินิยม, อาณานิคม และก้าวใหญ่ยักษ์ลำดับถัดไปของอินเดียในเวทีโลก

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 Sep 2023

Asia

23 Aug 2023

การเมืองเรื่องการปล่อยน้ำบำบัดกัมมันตรังสีฟุคุชิม่า

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงแผนระบายน้ำกัมมันตรังสีบำบัดแล้วของรัฐบาลญี่ปุ่นลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ที่สั่นคลอนไปถึง ‘ความมั่นคงเชิงตัวตนและสถานะ’ การตัดสินใจนี้ส่งผลต่อจุดยืนและความชอบธรรมบนเวทีโลกของญี่ปุ่นอย่างไร

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

23 Aug 2023

Asia

15 Aug 2023

‘Make in India’ ภาพฝันของนักลงทุนต่างประเทศ กับความเป็นจริงที่นักลงทุนไทยต้องรู้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก พาไปทบทวนผลลัพธ์และความท้าทายตลอด 10 ปีตั้งแต่อินเดียมีนโยบายเศรษฐกิจ ‘Make in India’ ที่ยังมีหลายอุปสรรคให้ฝ่าฟัน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Aug 2023
1 2 3 13

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save