fbpx

Thai Politics

22 May 2021

“หากไม่มีรถถังวันนั้น ฉันก็คงไม่มีวันนี้?” มองย้อน 7 ปี รัฐประหารเปลี่ยนเมืองไทยอย่างไร

ในวาระครบรอบ 7 ปีรัฐประหาร 101 ชวนนักวิชาการมามองย้อนกลับไปในห้วงเวลาสำคัญนี้ว่า รัฐประหารเปลี่ยนเมืองไทยในเชิงนโยบายอย่างไร

กองบรรณาธิการ

22 May 2021

Bite-Sized Clip

21 May 2021

โรคร้ายในแดนสนธยา : คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข เมื่อเรือนจำติดเชื้อ

101 คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข นักกิจกรรมการเมือง ถึงปัญหาโรคระบาดในเรือนจำ ในฐานะที่เขาเพิ่งก้าวออกจากเรือนจำในช่วงเดือนที่ผ่านมา เมื่อโควิดเข้ามารื้อปัญหาที่ถูกซุกซ่อนไว้ ทำให้ชวนพิจารณาถึงการดูแลคุณภาพชีวิตของนักโทษ อันคำนึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานที่เขาควรได้รับในฐานะมนุษย์

กองบรรณาธิการ

21 May 2021

Politics

21 May 2021

โรคร้ายในแดนสนธยา : คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข เมื่อเรือนจำติดเชื้อ

คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข นักกิจกรรมการเมือง ถึงปัญหาโรคระบาดในเรือนจำ ในฐานะที่เขาเพิ่งก้าวออกจากเรือนจำในช่วงเดือนที่ผ่านมา

วจนา วรรลยางกูร

21 May 2021

Thai Politics

17 May 2021

แม้พายุโหมกระหน่ำ แต่สุดท้าย ‘สายรุ้ง’ จะปรากฏ: บันทึกนอกเรือนจำจากเพื่อน ‘รุ้ง-ปนัสยา’

101 ชวนอ่านบันทึกการต่อสู้นอกเรือนจำในนามของ รุ้ง-ปนัสยา ซึ่งมีเหล่าเพื่อนสนิทอย่าง ชนินทร์ วงษ์ศรี และ ปิยพัทธ์ สาและ จากกลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม พร้อมทั้งอาจารย์ที่เคยสอนรุ้ง ผศ.ดร.จันทนี เจริญศรี และ ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร เป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราว ในวันที่เพื่อนและลูกศิษย์ของเขาไม่ได้รับการประกันตัวตามหลักการที่ควรจะเป็น พวกเขารู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น

กองบรรณาธิการ

17 May 2021

Science & Innovation

14 May 2021

ข้อเท็จจริงหรือตรรกะก็ไม่ช่วย?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงปัจจัยที่อยู่เบื้องหลังการตัดสินใจของมนุษย์ ตกลงแล้วข้อเท็จจริงหรือความรู้สึก สิ่งใดคือตัวกำหนดการตัดสินใจของเรากันแน่?!

นำชัย ชีววิวรรธน์

14 May 2021

Thai Politics

13 May 2021

ศาลที่น่าศรัทธา ต้องมีผู้พิพากษาที่กล้าและเป็นอิสระ – วิบูลย์ บุญภัทรรักษา

101 คุยกับ วิบูลย์ บุญภัทรรักษา หรือ ทนายอู๊ด พ่อของไผ่ ดาวดิน เกี่ยวกับมุมมองที่เขามีต่อศาลเรื่องคดีการเมือง มาตรา 112 และปัญหาที่แท้จริงของศาลไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

13 May 2021

Political Economy

13 May 2021

ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร: เตียงผู้ป่วย แป๊ะเจี๊ยะ และตั๋วช้าง

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงการใช้ ‘เส้นสาย’ ที่สะท้อนสภาพปัญหาสังคมไทย ผ่านกรณีตั๋วช้าง แป๊ะเจี๊ยะ และเตียงผู้ป่วยโควิด-19

อิสร์กุล อุณหเกตุ

13 May 2021

Politics

13 May 2021

วัคซีนโควิด-จับเด็ก-รมต.แป้งมัน จะอำมหิตไปถึงไหน สิ่งที่สามัญชนนึกไม่ออก คิดไม่ได้

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึงความล้มเหลวของรัฐบาลในการจัดการวัคซีนโควิด การใช้ 112 จับกุมเยาวชน และข่าวรัฐมนตรีค้ายาเสพติด

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

13 May 2021

Photojournalism

11 May 2021

ปล่อยตัวแอมมี่-เพนกวิน

11 พฤษภาคม 2564 ศาลมีคำสั่งให้ปล่อยตัวชั่วคราว เพนกวิน-พริษฐ์ ชิวารักษ์ และ แอมมี่-ไชยอมร แก้ววิบูลย์พันธุ์ หลังมีการไต่สวนตั้งแต่ช่วงเช้าถึงบ่าย โดยกำหนดเงื่อนไขว่าห้ามกระทำการตามที่ถูกฟ้องหรือเข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความวุ่นวายในบ้านเมือง ห้ามเข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความเสื่อมเสียต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ห้ามเดินทางออกนอกประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล และให้มาศาลตามกำหนดนัดโดยเคร่งครัด

เมธิชัย เตียวนะ

11 May 2021

Thai Politics

11 May 2021

ส่วนขยายของ “ข้อเสนออาวองต์-การ์ด”: จากกีต้า คาปัวร์สู่ศิลปะและการประท้วงในไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนมาทบทวน ความเป็น “อาวองต์-การ์ด” ของผลงานศิลปะที่ปรากฏในชุมนุมทางการเมือง เพื่อทำหน้าที่วิพากษ์ ต่อสู้ และท้าทายอำนาจนำในสังคม

ธนาวิ โชติประดิษฐ

11 May 2021

Politics

7 May 2021

ข้อสังเกตบางประการต่อการเลือกตั้งเทศบาล ’64

หลังการเลือกตั้งเทศบาล 2564 ผ่านพ้นไป ณัฐกร วิทิตานนท์ ชวนตั้งข้อสังเกตถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ทั้งเรื่องการซื้อเสียงและรูปแบบการเลือกตั้ง ในคอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’

ณัฐกร วิทิตานนท์

7 May 2021

Thai Politics

6 May 2021

ย้ายประเทศอย่างไร การเมืองในประเทศถึงจะเปลี่ยนแปลง

ศิรดา เขมานิฏฐาไท พาย้อนดูงานวิชาการหลายชิ้นที่ศึกษาผลกระทบของการที่คนพากันย้ายออกนอกประเทศ ที่มีต่อการเมืองในประเทศ เพื่อตอบคำถามที่ว่า ถ้าเราย้ายประเทศแล้ว จะช่วยเปลี่ยนประเทศเราให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้นได้หรือไม่ อย่างไร

ศิรดา เขมานิฏฐาไท

6 May 2021

Thai Politics

5 May 2021

ลดความทับซ้อน-เพิ่มอำนาจการตัดสินใจ-ให้อิสระทางการคลัง หัวใจของการกระจายอำนาจในรัฐธรรมนูญ

101 เก็บความจากงานเสวนา Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา ครั้งที่ 6 ‘การกระจายอำนาจ’ ถกเถียงถึงการออกแบบให้ท้องถิ่นมีอำนาจที่แท้จริงและเหมาะสม

กองบรรณาธิการ

5 May 2021

Thai Politics

4 May 2021

ชีวิตเส็งเคร็งในประเทศดิสโทเปีย ดินแดนต้องสาปสิ้นหวังในนามรัฐไทย

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เล่าถึงที่มาของสังคมดิสโทเปีย หรือ สังคมสมมติที่ประชาชนใช้ชีวิตอยู่อย่างยากลำบาก สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ และตกอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐบาลเผด็จการ ผ่านนวนิยายชื่อดังก้องโลก ที่เมื่อลองเทียบดูแล้วช่างคล้ายกับสถานการณ์ประเทศไทย ณ วันนี้เหลือเกิน

พิมพ์ชนก พุกสุข

4 May 2021

Thai Politics

30 Apr 2021

พระราชอำนาจในระบอบประชาธิปไตย: ว่าด้วย ‘ความล่วงละเมิดมิได้’ ของพระมหากษัตริย์

อะไรคือความหมายที่แท้จริงของภาษิต ‘พระมหากษัตริย์กระทำผิดไม่ได้’ อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงหลักการ ‘ความล่วงละเมิดมิได้ของพระมหากษัตริย์’ จากอังกฤษสู่ไทย

อติเทพ ไชยสิทธิ์

30 Apr 2021
1 32 33 34 73

MOST READ

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

Politics

25 Mar 2024

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?

วรดร เลิศรัตน์

25 Mar 2024

Thai Politics

11 Apr 2024

“ผมจะแก้สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อประชาธิปไตย ..ไม่ก็รื้อทิ้งเสีย” การลงสมัคร สว. ในฐานะ ‘ภารกิจสุดท้าย’ ของ พนัส ทัศนียานนท์

101 สนทนากับ พนัส ทัศนียานนท์ ผู้ประกาศตัวลงสมัครเป็น ‘สว.ของประชาชน’ โดยมีภารกิจเข้าไปแก้ไขรัฐธรรมนูญให้อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เป็น ‘ภารกิจสุดท้าย’

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save