Ukraine at War
Ukraine at War
- Thailand: The Great Reset
- แกะห่อ 'ยาเสพติด' พิษร้าย(?)ของสังคมไทย
- 101PUB
- Justice Next Version
- 2020-2021 The Year of New Hope
- คน | คุก ทลายกำแพงความคิด ปลดล็อกอนาคตกระบวนการยุติธรรม
- Platform Economy
- ความน่าจะอ่าน
- COVID-19: โรคเปลี่ยนโลก
- ป๋วย อึ๊งภากรณ์ : คนตรงในประเทศคด
- 2019 WHAT A YEAR!
- Thailand 2020: Perspectives from the World
- Bangkok บางคอก
- มอง 2019
- ม้า มวย หวย หม้อ
- ชีวิตติดร่างแห
- ทางของฝุ่น PM 2.5
- อ่านอีสาน
- Digital Transformation
- การปฏิรูประบบภาษี
- อนาคตธุรกิจหนังสือ
เมื่อรัสเซียรุกรานยูเครน สันติภาพโลกก็แตกสลายอีกครั้ง ร่วมมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนในหลากมิติ ตั้งแต่แรงสั่นสะเทือนต่อโลก ไปจนถึงการต่อสู้และชีวิตกลางไฟสงครามของประชาชน
Filter
Sort
‘ยูเครน’ ผ่านม้วนฟิล์มของ Korney Gritsyuk ผู้กำกับสารคดีจากยูเครนตะวันออก
แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Korney Gritsyuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
6 Dec 2022Train «Kyiv–War» ความหวังสู่ ‘สันติภาพ’ บนเส้นทางสู่ ‘สงคราม’
ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล เขียนถึงสารคดี Train «Kyiv–War» สารคดีที่บันทึกห้วงความคิดและความหวังของชาวยูเครนต่อสงครามดอนบาสในภาคตะวันออกของยูเครน บนขบวนรถไฟที่มุ่งหน้าสู่สงคราม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
19 Sep 2022ความย้อนแย้งในสงครามรัสเซียบุกยูเครน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้บนฐานทางอุดมการณ์ของรัสเซียในอดีต อันสะท้อนให้เห็นความย้อนแย้ง (paradox) ของสงครามรัสเซียบุกยูเครนเมื่อมองกลับมายังปัจจุบัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
5 May 2022ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้
อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร
6 Apr 2022‘สหภาพยูเรเชีย’: จักรวรรดิจินตกรรมของปูติน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมโนทัศน์ของปูตินเรื่องจักรวรรดิจินตกรรมในนามของ ‘สหภาพยูเรเชีย’ ผ่านประวัติศาสตร์สังคมการเมืองของรัสเซีย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
4 Apr 2022‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน
จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา
1 Apr 2022ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย
ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข
30 Mar 2022Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน
101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
28 Mar 2022‘เราจะต่อสู้ในทุกพื้นที่และเราจะไม่ยอมแพ้’ เมื่อผู้นำยูเครนใช้พลังวาทศิลปสู้นาซีของวินสตัน เชอร์ชิล เพื่อปลุกใจนักสู้ผู้ปกป้องมาตุภูมิ
สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสุนทรพจน์ของโวโลดีเมียร์ เซเลนสกี้ ประธานาธิบดียูเครนที่หยิบยกเอาบทประพันธ์ของเชกสเปียร์และคำปลุกใจของวินสตัน เชอร์ชิล อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ มากล่าวกับประเทศอื่นๆ เพื่อขอรับแรงสนับสนุนในสถานการณ์ความขัดแย้งกับรัสเซีย

สมชัย สุวรรณบรรณ
25 Mar 2022ผลกระทบและแนวทางการรับมือของไทยจากสถานการณ์สงครามในยูเครน
ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่อประเทศไทย ทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ พร้อมเสนอแนะแนวทางการรับมือ

ปิติ ศรีแสงนาม
16 Mar 2022101 In Focus Ep.120: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน
101 In Focus ชวนติดตามความคืบหน้าของสถานการณ์การสู้รบระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งล่วงเข้าสู่สัปดาห์ที่สอง พร้อมชวนฟังคำบอกเล่าจากคนยูเครนที่กำลังเผชิญไฟสงครามบนบ้านเกิดตัวเอง

กองบรรณาธิการ
11 Mar 2022คีฟ (Kyiv) หรือ เคียฟ (Kiev) – การเอ่ยนามนั้นสำคัญใช่ไหมล่ะ
ณภัค เสรีรักษ์ ชวนคุยถึงการเมืองเรื่องภาษา เมื่อการเลือกใช้คำ สะกดคำ หรือออกเสียงคำเรียกสิ่งต่างๆ ย่อมสัมพันธ์กับการเมือง เช่น ชื่อเมืองหลวง

ณภัค เสรีรักษ์
10 Mar 2022ปูติน ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลก แต่ดันเข้าทางสหรัฐฯ
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกที่ถูกสั่นคลอนโดยสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งย้อนศรความตั้งใจของรัสเซียที่จะ ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลกให้เข้าทางรัสเซีย-จีน นำไปสู่ความได้เปรียบของสหรัฐฯ และโลกสองขั้วที่แยกห่างออกจากกันยิ่งขึ้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร
8 Mar 2022“ผมใช้ค้อนตอกภาพวาดที่หน้าต่างไว้กันระเบิด”: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน
ท่ามกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน ด้วยความช่วยเหลือจาก อาเท็ม โพโนมาเรสฟกี สื่อชาวยูเครน 101 ชวนฟัง ‘เสียง’ และ ‘เรื่องราว’ ของประชาชนชาวยูเครนจาก Chernihiv และ Sumy สองแคว้นทางภาคเหนือของยูเครน และกรุงคีฟ – สามแนวรบสำคัญที่ตกอยู่ภายใต้วงล้อมและการโจมตีของกองทัพรัสเซีย

กองบรรณาธิการ
7 Mar 2022‘ชุมชนจินตกรรม’ ของวลาดิเมียร์ ปูติน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเหตุผลการบุกยูเครนของรัสเซียผ่านรากความเชื่อทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแก่นคิดของปูตินที่ใช้ในการปกครองเสมอมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
4 Mar 2022อาชญากรรมรุกราน (crime of aggression)
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงอาชญากรรมรุกราน (crime of aggression) กรณีข้อพิพาทระหว่างรัสเซียกับยูเครนซึ่งทำท่าจะลุกลามบานปลายว่าผิดกฎหมายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศอย่างไรบ้าง
