คน | คุก ทลายกำแพงความคิด ปลดล็อกอนาคตกระบวนการยุติธรรม
คน | คุก ทลายกำแพงความคิด ปลดล็อกอนาคตกระบวนการยุติธรรม
สำรวจเรื่องราวในกระบวนการยุติธรรมที่ไม่ได้ไกลตัวเราอย่างที่คิด
Filter
Sort
ก้าวต่อไปข้อกำหนดกรุงเทพ สู่การสร้าง ‘นวัตกรรม’ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีนอกกำแพงเรือนจำ
101 เก็บความจากงานเสวนาที่รวมเอาภาคส่วนต่างๆ ของสังคมมาร่วมเสวนาเกี่ยวกับ ‘นวัตกรรมทางความคิดเพื่อสร้างกลไกความช่วยเหลือผู้ก้าวพลาด’

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
6 ม.ค. 2021“ถ้าดูแลคนในฐานะมนุษย์อย่างแท้จริง มนุษย์จะงอกงาม” ทิชา ณ นคร
101 นัดคุยกับ ‘ป้ามล’ ทิชา ณ นคร ผู้อำนวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก ผู้ทำงานกับผู้กระทำผิดมาหลายสิบปี ว่าด้วยประเด็นเรื่องข้อกำหนดกรุงเทพ และอนาคตของการดูแลผู้ต้องขัง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
6 ม.ค. 2021“คุกคือโจทย์ใหญ่ร่วมกันของสังคมไทย” – มองอำนาจการลงทัณฑ์และสำนึกเรื่องเรือนจำ กับ อนุสรณ์ อุณโณ
101 สนทนากับอนุสรณ์ อุณโณ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยเรื่องปัญหาในเรือนจำ สำนึกเกี่ยวการลงทัณฑ์ในสังคมไทย และทางแก้ไขจากมุมมองนักมานุษยวิทยา

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
28 ธ.ค. 2020จาก ‘มาตรการขาหยั่ง’ ถึง สิทธิในเนื้อตัวร่างกายและความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องขังหญิง กับ กรกนก คำตา
101 สนทนากับ กรกนก คำตา ถึงประสบการณ์และมุมมองของเธอต่อมาตรการและความเป็นอยู่ในเรือนจำหญิง และข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาเรือนจำให้เป็นที่ปลอดภัยของผู้หญิงตามข้อกำหนดกรุงเทพ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์
28 ธ.ค. 2020“ปฏิรูประบบยุติธรรม เปลี่ยนสังคมไทย” – ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
101 ชวน ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายความยั่งยืนและบริหารศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนทนาถึงปัญหาและหนทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย สถานการณ์การเมืองในปัจจุบัน และภาพแบบไหนในกระบวนการยุติธรรมที่เขาใฝ่ฝันถึง

กองบรรณาธิการ
24 ธ.ค. 2020มิวะ คาโต้ – ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ 10 ปีของการผลักดันระบบยุติธรรมและเรือนจำให้เหมาะกับผู้หญิงทั่วโลก
เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปีของข้อกำหนดกรุงเทพ 101 สนทนากับ มิวะ คาโต้ ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการของ UNODC ย้อนมองการใช้ข้อกำหนดกรุงเทพในการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิงในหลายประเทศทั่วโลก

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา
21 ธ.ค. 2020อนาคต | คน | คุก และกระบวนการยุติธรรมไทย ภายใต้ 10 ปีข้อกำหนดกรุงเทพ
101 ชวนร่วมเดินตามเส้นทางของข้อกำหนดกรุงเทพที่มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังหญิง – โครงการนี้เริ่มต้นได้อย่างไร ข้อกำหนดกรุงเทพอยู่ตรงไหนในกระแสธารของโลก และก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง รวมถึงย้อนไปถึงรากฐานของปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจำและวิธีแก้ไข

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
17 ธ.ค. 2020101 In Focus Ep.64 : คน | คุก
เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ 101 ชวนคุณเปิดตาและเปิดใจ มองให้ไกลกว่ากำแพงเรือนจำและกำแพงอคติที่กั้นขวางเรากับคน (ใน) คุก ทำความรู้จักกับข้อกำหนดกรุงเทพและร่วมมองอนาคตของชีิวิตคนในเรือนจำไปพร้อมๆ กัน

กองบรรณาธิการ
17 ธ.ค. 2020101 One-on-One Ep.202 “ปฏิรูประบบยุติธรรม เปลี่ยนสังคมไทย” – ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
สนทนาถึงปัญหาและหนทางการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย สถานการณ์การเมืองในปัจจุบัน และภาพแบบไหนในกระบวนการยุติธรรมที่เขาใฝ่ฝันถึง

101 One-on-One
17 ธ.ค. 2020เมื่อการ ‘ให้’ คือจุดเริ่มต้นเพื่อคืนอดีตผู้ผิดพลาดสู่สังคม: ธิษณา ธิติศักดิ์สกุล และ นพพล ชูกลิ่น
101 สนทนากับ ธิษณา ธิติศักดิ์สกุล และ นพพล ชูกลิ่น สองผู้เข้าร่วมหลักสูตร RoLD (TIJ Executive Program on Rule of Law and Development) ที่ได้มีโอกาสลงพื้นที่และสัมผัสกับผู้ต้องขังจริง จนเกิดเป็นความร่วมมือในการให้ความรู้และรับผู้ต้องขังเข้ามาทำงานในสถานประกอบการของตนเอง

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
7 ก.ค. 2020COVID-19 กับโอกาสใหม่ในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย: กิตติพงษ์ กิตยารักษ์
101 สนทนากับ กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ เพื่อร่วมหาคำตอบว่า โจทย์เรื่องความยุติธรรมในยุคโควิด-19 เปลี่ยนไปอย่างไร เราจะพลิกวิกฤตใหญ่ครั้งนี้ให้เป็นจุดเปลี่ยนและโอกาสใหม่ในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทยได้อย่างไร

ปกป้อง จันวิทย์
16 มิ.ย. 2020นัทธี จิตสว่าง : 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ และก้าวต่อไปเรือนจำไทย
คุยกับ ดร.นัทธี จิตสว่าง ถึง 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ สำรวจสถานะปัจจุบันของเรือนจำไทย และมองไปยังอนาคตในการพัฒนาเชิงนโยบาย

วจนา วรรลยางกูร
3 เม.ย. 2020สิ่งสำคัญคือการมอบ ‘โอกาส’ ครั้งที่สองให้เด็กที่เคยก้าวพลาด – ‘สหการณ์ เพ็ชรนรินทร์’
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย สนทนากับ สหการณ์ เพ็ชรนรินทร์ ว่าด้วยแนวโน้มการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน การนำกีฬามาใช้เพื่อป้องกันและลดการกระทำผิดซ้ำ รวมถึงมุมมองต่อเด็กและเยาวชนที่มักถูกตีตราว่าเป็นเด็กเกเร

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
24 ก.พ. 2020เปิดประตูสู่โลก (ไม่) มืดมิด : ทำความเข้าใจชีวิตใน ‘เรือนจำ’
ประมวลผลงานชุด ‘ชีวิตในเรือนจำ’ ซึ่งอาจช่วยลบภาพจำเดิมๆ เกี่ยวกับเรือนจำ รวมถึงผู้ต้องขัง ที่ไม่ได้มีแต่ความมืดมิดหรือเลวร้ายเสมอไป กระทั่งอาจเป็นแสงสว่างให้กับเราๆ ท่านๆ ที่อาศัยอยู่ในโลกสามัญได้ในบางแง่มุม
