fbpx

Spotlights

29 Jul 2021

How to be human เปิดบทเรียนความเป็นมนุษย์ (ที่ดีกว่าเดิม) กับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

101 สนทนากับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เกี่ยวกับพัฒนาการและองค์ความรู้แบบมานุษยวิทยา การปรับตัวของศาสตร์ และการเรียนการสอนมานุษยวิทยาในไทย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

29 Jul 2021

Education

10 Jun 2021

Back to School? : บันทึกของคุณครูในช่วงโควิด-19

บทเรียนการจัดการชั้นเรียนในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้าง 101 เปิดวงสนทนาพูดคุยกับ 4 ครูผู้อยู่หน้าด่านในโลกการศึกษา ว่าด้วยการสอนแบบที่ได้ผลที่สุดในยุคโควิด-19 วิธีคิดของการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป และข้อเสนอเพื่อสนับสนุนครูและการเรียนรู้ในโลกการศึกษาแบบใหม่

กรกมล ศรีวัฒน์

10 Jun 2021

Podcast

27 May 2021

101 In Focus Ep.81 : เปิดคลาสเสมอภาค รื้อบทเรียนโควิด-19

101 In Focus สัปดาห์นี้ ขอชวนคุณเปิดคลาสเรียนเพื่อความเสมอภาค ย้อนสำรวจความเปลี่ยนแปลงของโลกการศึกษาหลังโควิด-19 แนวทางและองค์ความรู้ในการจัดการศึกษาใหม่ๆ ที่น่าสนใจ หนทางไปสู่ระบบการศึกษาที่ดีกว่า ผ่านบทความ บทสัมภาษณ์ และสื่อรูปแบบต่างๆ ตลอดช่วงเดือนพฤษภาคมนี้

กองบรรณาธิการ

27 May 2021

Education

21 May 2021

3 ปีบนเส้นทางสู่ ‘ความเสมอภาค’ การศึกษาไทยเดินอยู่ตรงไหนแล้ว?

ชวนสำรวจ 3 ปีเส้นทางแห่งการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย รวมทั้งอนาคตของเส้นทาง ผ่านสายตาของ นพ.สุภกร บัวสาย ผู้จัดการ กสศ. และ กนิษฐา คุณาวิศรุต ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริหารเงินอุดหนุนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ กสศ.

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 May 2021

Visual & Infographics

20 May 2021

เด็กจนโอกาส: เมื่อโรคระบาดกั้นกำแพงการเรียนรู้

101 ชวนคุณเปิดบทเรียนความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากไวรัสอย่างหนักหน่วง ไล่เรียงตั้งแต่ภาพความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นในยุคโควิด การสูญเสียการเรียนรู้ ไปจนถึงผลจากการเรียนออนไลน์ที่ยิ่งเปิดแผลความเหลื่อมล้ำให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

กองบรรณาธิการ

20 May 2021

World

18 May 2021

เพราะอนาคตรอไม่ได้! เปิดตำราการศึกษาฉบับเลื่อนไหลหลังโควิด-19

มองการถอดบทเรียนการจัดการศึกษายุคโควิด-19 และแนวทางแก้ไขจากการประมวลแนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพทั่วโลก ของ UNICEF และ OECD

ชลิดา หนูหล้า

18 May 2021

เปิดคลาสเสมอภาค รื้อบทเรียนโควิด-19

17 May 2021

101 Policy Forum #12 : Back to School: รื้อบทเรียน-เปลี่ยนการเรียนรู้ฉบับคุณครู

ตลอด 1 ปีที่ผ่านการลองผิดลองถูก การสอนแบบไหนที่ได้ผลที่สุดในยุคโควิด-19 | วิธีคิดของการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป | ข้อเสนอเพื่อสนับสนุนครูและการเรียนรู้ในโลกการศึกษาแบบใหม่ | ฯลฯ

กองบรรณาธิการ

17 May 2021

World

14 May 2021

เพราะการศึกษาหยุดไม่ได้ ต่างประเทศเรียนกันอย่างไรในช่วงโควิด

101 พาไปสำรวจการปรับตัวของรูปแบบการเรียนการสอนที่น่าสนใจในต่างประเทศ ว่าทำอย่างไรให้เด็กๆ ยังคงเรียนรู้ต่อไปได้ หรือเรียนรู้ได้มากกว่าเดิม แม้โรงเรียนจะยังไม่กลับคืนสู่ปกติ จากการระบาดของโควิด-19

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

14 May 2021

Education

12 May 2021

เมื่อโควิดดิสรัปต์การศึกษา : เปิดบทเรียนความเหลื่อมล้ำในวันที่โลกติดไวรัส

101 ชวนสำรวจโลกการศึกษาในวันที่โลกติดไวรัส ไล่เรียงตั้งแต่ผลกระทบที่เกิดขึ้น และสำรวจปัญหาสำคัญอย่างความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่รุนแรงขึ้นในช่วงโควิด-19

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

12 May 2021

Politics

21 Apr 2021

“หัวใจสำคัญของนิติศาสตร์คือ การทำให้คนเชื่อว่ายังมีความยุติธรรมอยู่” เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

101 สนทนากับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เกี่ยวกับองค์ความรู้และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ ไปจนถึงบทบาทของคณะในยุคที่กระบวนการยุติธรรมถูกตั้งคำถามจากสังคม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Apr 2021

Education

16 Nov 2020

“ทำละครเพื่ออะไร?” – ภาสกร อินทุมาร ความเปลี่ยนแปลงของการละคร ในโลกที่เต็มไปด้วยคำถาม

101 คุยกับ ผศ.ดร.ภาสกร อินทุมาร ในประเด็น ‘ละครต้องรอด!’ ว่าด้วยการดำรงอยู่ของการละครในโลกยุคใหม่ ความเปลี่ยนแปลงในการเรียนการสอนละคร และละครแบบไหนที่จะช่วยเติมเต็มสิ่งที่ขาดหายในสังคม

วจนา วรรลยางกูร

16 Nov 2020

Spotlights

13 Aug 2020

ครุศาสตร์ ต้องรอด! : “จะเป็นครู ต้องไม่หยุดเรียนรู้” – ภาวิณี โสธายะเพ็ชร

อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์จะเป็นเช่นไร? 101 ชวน ดร.ภาวิณี โสธายะเพ็ชร จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาร่วมค้นหา ‘ทางรอด’ ของครูและศาสตร์การสอนครูในยุคที่ผันผวน ยากคาดการณ์ แต่เรียกร้องให้ครูก้าวทันความเป็นไปในสังคมอยู่เสมอ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

13 Aug 2020

Spotlights

30 Jun 2020

“ไม่มี Theory of Everything ในโลกของ IR” จิตติภัทร พูนขำ

101 สนทนากับ จิตติภัทร พูนขำ เกี่ยวกับองค์ความรู้และโลกของ IR ไปจนถึงการเรียนการสอน และการปรับตัวของ IR ในยุคที่โลกผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Jun 2020

Spotlights

18 Mar 2020

สถาปัตย์ฯ ต้องรอด! : “สถาปัตยกรรมศาสตร์ ต้องไม่แยกขาดจากสังคม” ต้นข้าว ปาณินท์

คุยกับ ต้นข้าว ปาณินท์ อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยเรื่องความเป็นมา ความเป็นไป และการปรับตัวของสถาปัตยกรรมศาสตร์ในโลกปัจจุบัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

18 Mar 2020

Education

10 Feb 2020

‘สื่อเกิดขึ้นมาทำไม’ เมื่อคำถามเก่าๆ คือทางออกของสื่อยุคใหม่ กับ พรรษาสิริ กุหลาบ

#ต้องรอด ตอนแรก ว่าด้วย วารสารศาสตร์กับความท้าทายของสื่อยุคปัจจุบัน และบทบาทของนักวารสารศาสตร์ยุคใหม่ ที่ต้องมีทั้งทักษะ ทัศนคติ และความเข้าใจในบทบาทของคนสื่อ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

10 Feb 2020
1 3 4 5 6

RECOMMENDED

Documentary

23 Apr 2024

‘อยากเรียน ไม่ได้เรียน’ : เสียงจาก ‘ชุมชนโค้งรถไฟยมราช’ เมื่อเด็กกลางเมืองเข้าไม่ถึงการศึกษา

101 พาสำรวจชีวิตเด็กชุมชนโค้งรถไฟยมราชที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ชวนหาสาเหตุของปัญหาและหาคำตอบว่าจะทำอย่างไรให้การศึกษาไทยนับรวมพวกเขาอย่างแท้จริง

ณัชชา สินคีรี

23 Apr 2024

Spotlights

8 Apr 2024

20 ผลงานใหม่ ยอดอ่านสูงสุดของ The101.World เดือนมีนาคม 2567

อ่าน 20 ผลงานใหม่ยอดนิยมของ The101.World ในเดือนมีนาคม 2567 พร้อมรับชมคลิปวิดีโอสารคดี รายการ ค.การเมือง, 101 POSTSCRIPT, Research and Policy Dialogue และ 101 One-on-One

กองบรรณาธิการ

8 Apr 2024

Public Policy

2 Apr 2024

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เมื่อการเยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

สรัช สินธุประมา

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save