fbpx

Thai Politics

22 May 2020

บทเรียน 10 ปี ‘พฤษภา 53’ – 10 คำถาม กับ สมบัติ บุญงามอนงค์

ประชาธิปไตยจะเกิดขึ้นได้อย่างไร การชุมนุมประท้วงในอนาคตจะเป็นแบบไหน อ่านทัศนะจากสมบัติ บุญงามอนงค์ ที่ตกผลึกจากเหตุการณ์ พ.ค. 2553

ธิติ มีแต้ม

22 May 2020

Thai Politics

21 May 2020

วาทกรรมกำหนด ‘ความจริง’ ประวัติศาสตร์ : ความทรงจำที่ถูกแช่แข็งจากเหตุสลายชุมนุม เม.ย. – พ.ค. ปี 53

101 ชวนทบทวนวาทกรรมที่กำหนดความจริงของประวัติศาสตร์นี้ เพื่อให้เข้าใจถึงเหตุผลว่า ทำไมเราจึงต้องรำลึกและพูดถึงเหตุการณ์นี้ไม่ให้เงียบหายไปจากสังคมไทย นำไปสู่คำถามที่สังคมต้องร่วมกันตอบว่า “เราควรจะจดจำเหตุการณ์นี้อย่างไร?”

กองบรรณาธิการ

21 May 2020

Thai Politics

21 May 2020

บนถนนสายตาสว่าง: กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์

ภาวะตาสว่างทางการเมืองของคนเสื้อแดงในทศวรรษที่ผ่านมาเป็นแบบไหน ท่ามกลางความสูญเสีย มวลชนเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร อ่านทัศนะจาก ‘กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์’

ธิติ มีแต้ม

21 May 2020

Thai Politics

20 May 2020

“1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง” กับ พวงทอง ภวัครพันธุ์

101 สนทนากับ รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในทีมงานศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุม กรณี เม.ย.-พ.ค. 53 ในรายการ 101 One-on-One ep.141 : ‘1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง’

กองบรรณาธิการ

20 May 2020

Talk Programmes

20 May 2020

101 One-On-One Ep.142 : เขตใช้กระสุนจริง vs. เขตใช้ประชาธิปไตย

101 สนทนากับ สมบัติ บุญงามอนงค์ นักคิดและนักกิจกรรมทางสังคม ผู้สร้างนวัตกรรมในการท้าทายเผด็จการมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย ไล่เรียงตั้งแต่ภาพจำในการต่อสู้เชิงสัญลักษณ์ ไปจนกระทั่งว่าอะไรคือโจทย์ใหม่สำหรับการต่อสู้ของฝ่ายประชาธิปไตย

101 One-on-One

20 May 2020

Thai Politics

19 May 2020

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ: หนึ่งทศวรรษความตายแปลกหน้าในประวัติศาสตร์ไร้เสียง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม

วจนา วรรลยางกูร

19 May 2020

Thai Politics

18 May 2020

เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว “ใครบ้างที่เจ็บปวด”: 10 ปีล้อมฆ่า 2553 กับคำถามอันเงียบงัน

คุยกับเบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว ในวาระ 10 ปีสังหารหมู่ 2553 อะไรเป็นเงื่อนไขที่ทำให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ

ธิติ มีแต้ม

18 May 2020

Spotlights

14 May 2020

บันทึก ‘19 พฤษภาคม 2553’ ในสายตาจรัล ดิษฐาอภิชัย

จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีตแกนนำนปช. และอดีตกสม. เขียนบันทึก ‘ลักษณะประวัติศาสตร์’ การล้อมปราบคนเสื้อแดงเมื่อปี 2553

จรัล ดิษฐาอภิชัย

14 May 2020

Talk Programmes

14 May 2020

101 One-on-One Ep.141 : ‘1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง’ กับ พวงทอง ภวัครพันธุ์

ทำไมการใช้กำลังล้อมปราบกลางเมืองที่รุนแรงที่สุดจึงเกิดขึ้นกลางเมือง สังคมไทยจำคนเสื้อแดงอย่างไร ที่ทางของขบวนการอยู่ตรงไหนของประวัติศาสตร์ประชาธิปไตย ทหารเปลี่ยนไปแค่ไหนในการเมืองมวลชน และอะไรคือบทเรียนใหญ่ของสังคมไทยในปัจจุบัน สำรวจข้อเท็จจริงของเหตุการณ์และวิเคราะห์พลวัตของหนึ่งในขบวนการการเมืองมวลชนที่ใหญ่ที่สุดของไทย

101 One-on-One

14 May 2020

Talk Programmes

7 May 2020

101 One-On-One Ep.134 : “10 ปี สลายชุมนุมคนเสื้อแดง สิทธิมนุษยชนที่หายไป”

101 ชวนรำลึก 1 ทศวรรษ เหตุการณ์สลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เมื่อเดือนเมษาฯ-พฤษภาฯ 2553 อะไรเป็นเงื่อนไขทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2 พันคน ใช้งบประมาณในการปราบปรามไปกว่า 3,700 ล้านบาท กลายเป็นประวัติศาสตร์บาดแผลอันเรื้อรัง และสังคมไทยเรียนรู้อะไรบ้าง

101 One-on-One

7 May 2020

Thai Politics

6 Nov 2019

กาลครั้งหนึ่งประเทศไทยของช่างภาพอิสระ ‘นิค นอสติชท์’

สนทนากับ ‘นิค นอสติชท์’ ถึงการเมืองไทยที่ตกตะกอนอยู่ในใจ ทั้งในฐานะช่างภาพอิสระและคนมีครอบครัวในไทยที่ต้องตัดใจกลับเยอรมนี

ธิติ มีแต้ม

6 Nov 2019

Spotlights

5 Mar 2019

อยู่กับความทุกข์ทน วันพรุ่งนี้ที่เงียบงันของเหยื่อทางการเมือง

สนทนากับ บุญเลิศ วิเศษปรีชา ถึงงานล่าสุดของเขา ‘อยู่กับบาดแผล’ บทสำรวจความทุกข์ทนของเหยื่อจากความรุนแรงทางการเมือง ที่นอกจากต้องเผชิญความเจ็บปวดทางร่างกายแล้วยังต้องแบกรับความเจ็บปวดทางใจในฐานะผู้แพ้ที่ถูกสังคมประณาม

วจนา วรรลยางกูร

5 Mar 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save