กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: แก้ไขผู้กระทำผิด ฟื้นฟูชีวิตผู้ถูกกระทำ
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากการประชุมนานาชาติว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ว่าด้วยกรณีศึกษาจากนานาประเทศ
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากการประชุมนานาชาติว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ว่าด้วยกรณีศึกษาจากนานาประเทศ
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากการประชุมระดับนานาชาติว่าด้วยความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ว่าด้วยแนวทางการนำความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาปรับใช้กับสังคม ทั้งในระดับประเทศและระดับระหว่างประเทศ
101 เก็บความจาก ‘การประชุมระดับชาติว่าด้วยความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (National Symposium on Restorative Justice)’ จัดโดย TIJ และ UNODC ว่าด้วยแนวทางการใช้ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในประเทศไทย
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เปิดผลสำรวจหลักนิติธรรมของไทย ผ่านดัชนี WJP Rule of Law
เก็บความจากการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ‘มาตรฐานจริยธรรมด้านสิทธิเด็ก และการวิเคราะห์จิตวิทยาสำหรับผู้ใช้บังคับกฎหมาย’ ว่าด้วยความท้าทายของการ ‘จับผู้ร้าย’ ในคดีละเมิดเด็ก
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ ‘มาตรฐานจริยธรรมด้านสิทธิเด็ก และการวิเคราะห์จิตวิทยาสำหรับผู้ใช้บังคับกฎหมาย’ แนวทางปราบปรามความรุนแรงต่อเด็กในโลกยุคใหม่
ฟัง ‘สุรพงษ์ กองจันทึก’ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรมเล่าปัญหาคนไร้สัญชาติที่เรื้อรังเนิ่นนานมาหลายทศวรรษ ท่ามกลางความมั่นคงที่เดินนำหน้าสิทธิมนุษยชน
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนากับ ดร.เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจ้าของงานวิจัย ‘บทบาทของสภาพครัวเรือนต่อการพัฒนาคุณภาพกำลังแรงงานในอนาคต’ ว่าด้วยต้นตอ ผลกระทบ และข้อเสนอแนะต่อปัญหา ‘ครอบครัวแหว่งกลาง’ หรือครอบครัวที่มีสมาชิกรุ่นปู่-ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลาน โดยขาดสมาชิกรุ่นพ่อ-แม่
สรุปงานเสวนา ครอบครัวไทยยุคเกิดน้อยอายุยืน : ทางเลือกและข้อท้าทาย’ ในหัวข้อ ‘ทำอย่างไรให้ครอบครัวฟังก์ชัน? : บทบาทสถาบันที่เกี่ยวข้อง’ ว่าด้วยข้อมูลหลายอย่างที่สะท้อนให้เห็นภาพจริงของสังคมไทยมากขึ้น ผ่านการเปลี่ยนแปลงของลักษณะครอบครัวยุคใหม่
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ เขียนถึงนิทรรศการภาพถ่าย ‘พื้นที่สีเทา’ ของ ยศธร ไตรยศ และวงเสวนาประเด็นสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรื่องราวปัญหา ตัดสลับกับภาพชายแดนใต้ จะสะท้อนภาพความเป็นจริงของปัญหา และตอบคำถามว่า ทำไมเราควรมองภาพสามจังหวัดชายแดนใต้ให้ธรรมดาสามัญ
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ พอแสนโซ บรี ถึงชีวิต 13 ปีในแคมป์ผู้ลี้ภัยที่ไร้อนาคต ก่อนเธอจะไปเริ่มชีวิตใหม่ที่อเมริกาและต่อสู้กับการถูกเลือกปฏิบัติ
จะดีแค่ไหน ถ้าคุณสามารถย้อนเวลาไปแก้ไขอดีตที่ผ่านมาได้?
ย้อนเวลากลับไปเลือกเส้นทางใหม่
ย้อนการกระทำ ที่จะช่วยเปลี่ยนวันนี้ให้ต่างไปจากเดิม
ปอมคือเยาวชน ที่เคยเป็นเด็กเกเรและต้องอยู่ในสถานพินิจฯ
แต่ตอนนี้เป็นนักกีฬาปิงปองจากสโมสรกีฬา BBG
———-
ปอมไม่ได้มีความสามารถพิเศษย้อนเวลาไปแก้ไขอดีตที่ผ่านมาหรอก
แต่เขาเลือกที่จะลุกขึ้นมาเปลี่ยนความคิด และเริ่มต้นชีวิตใหม่
จนคว้ารางวัลแข่งขันปิงปองระดับเยาวชน
เพราะชีวิตไม่สามารถย้อนเวลาได้ แต่สามารถเริ่มต้นใหม่ได้เสมอ