fbpx

Politics

3 Jun 2022

“ทางสายกลางคือคำตอบ” มองลับลวงพรางในนโยบายกัญชาเสรีกับ นพ.บัณฑิต ศรไพศาล

101 พูดคุยกับ ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล นักวิทยาศาสตร์ Centre for Addiction and Mental Health แคนาดา ถึงข้อสังเกตในนโยบายกัญชาและมาตรการควบคุมที่ยังไม่ถี่ถ้วน

วจนา วรรลยางกูร

3 Jun 2022

Life & Culture

1 Jun 2022

10 ประสบการณ์ 5 ข้อสรุปว่าด้วยเรื่อง ‘กำลังคน’ ในระบบสุขภาพ

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงปัญหาเรื่องบุคลากรในระบบสาธารณสุข ที่มีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนในการทำความเข้าใจเพื่อการพัฒนา

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

1 Jun 2022

Health

27 May 2022

เครียด เหงา เศร้า : เยียวยาแผลใจวัยรุ่นยุคโควิดด้วยนโยบายสุขภาพจิตใหม่

เมื่อโควิด-19 และระบบการศึกษาสร้างแผลใจให้วัยรุ่นไทยนับล้าน 101 เก็บความจากวงเสวนาของ Thailand Policy Lab หาทางออกด้วยนโยบายสุขภาพจิตใหม่

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

27 May 2022

PopCapture

26 May 2022

‘วัฒนธรรมความ(ซึม)เศร้า’ เมื่อความเศร้าเป็นสิ่งฉาบฉวย เก๋ไก๋และขายได้

คอลัมน์ PopCapture ตั้งข้อสังเกตถึงกระแสการแบ่งปันประสบการณ์เลวร้ายที่แพร่กระจายอยู่ในโลกออนไลน์ แม้ด้านหนึ่งมันจะช่วยเยียวยาผู้เล่า แต่ในอีกด้านก็กลายเป็นหลุมพรางขนาดย่อม ที่อาจพาใครต่อใครไปยังเขตแดนของ ‘ความป่วยไข้ทางใจ’ โดยไม่ได้เจตนา ทั้งมันยังแปรสภาพกลายเป็นสินค้าแฟชั่นอันชวนฉงนของโลกทุนนิยมด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

26 May 2022

Life & Culture

3 May 2022

อ่านอดีต-มองอนาคตการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย (ตอนจบ)

ตอนจบเรื่องการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย โดยสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ว่าด้วยความพยายามพัฒนารูปแบบบริการสาธารณสุข โดยชวนตั้งคำถามว่า สิ่งสำคัญคือเราเร่ิมจากถามคำถามที่ถูกต้องหรือยัง?

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

3 May 2022

Life & Culture

2 May 2022

อ่านอดีต-มองอนาคตการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย (ตอนที่ 1)

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย ที่ทำได้หลายแบบ และมีความพยายามพัฒนามาตลอด สิ่งสำคัญคือเราเร่ิมจากการถามคำถามที่ถูกต้องหรือยัง?

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

2 May 2022

Life & Culture

30 Mar 2022

‘รัฐต้องมีบทบาทในระบบบริการสาธารณสุข’ ไม่ได้แปลว่า ‘รัฐต้องทำเอง’ (ตอนจบ)

ตอนจบของประเด็น ‘ระบบสาธารณสุขภาครัฐ’ ของไทย ที่นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ชี้ชวนให้เห็นช่องว่างของระบบที่สามารถพัฒนาได้อีกมาก ผ่านการเล่าประวัติศาสตร์การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขไทยตลอดช่วง 60 ปีที่ผ่านมา

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

30 Mar 2022

Life & Culture

29 Mar 2022

ถอดบทเรียนสองปีกับโควิด เราทำดีแล้วหรือไม่ แล้วจะดีกว่าเดิมได้อย่างไรอีก

บทสรุปจากงานเสวนา ‘นโยบายการจัดการโรคโควิด-19 ในระยะที่ผ่านมาทำให้เราสูญเสียโอกาสอะไรบ้าง?: บทเรียนราคาแพงจากการระบาดใหญ่ของโรคโควิด-19 กับการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทย’ และบทเรียนตลอดสองปีที่ผ่านมาหลังไทยรับมือกับไวรัสโควิด-19 ว่าเราทำได้ดีหรือยัง มีหนทางที่เรายังทำได้ดีกว่านี้อีกหรือไม่ และหากวิกฤตินี้ยังยืดเยื้อต่อไป เราจะหาทางรับมือกับมันได้อย่างไรอีกบ้าง

พิมพ์ชนก พุกสุข

29 Mar 2022

Life & Culture

29 Mar 2022

‘รัฐต้องมีบทบาทในระบบบริการสาธารณสุข’ ไม่ได้แปลว่า ‘รัฐต้องทำเอง’ (ตอนที่ 1)

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ชี้ชวนให้เห็น ‘ระบบสาธารณสุขภาครัฐ’ ของไทย ที่ยังมีช่องว่างให้การพัฒนาอีกมาก ผ่านการเล่าประวัติศาสตร์การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขไทยตลอดช่วง 60 ปีที่ผ่านมา

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

29 Mar 2022

Life & Culture

21 Mar 2022

ถอดบทเรียน 2 ปี โควิด-19 ทางไปต่อของนโยบายสาธารณะกลางวิกฤตระดับชาติ กับ บวรศม ลีระพันธ์

101 ชวน รศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดงานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วย การถอดบทเรียนการทำนโยบายสาธารณะในยุคการควบคุมโควิด-19 โดยใช้ข้อมูลจริงและวิธีคิดเชิงระบบ

กองบรรณาธิการ

21 Mar 2022

Life & Culture

7 Feb 2022

ระบบสุขภาพไทยกับ ‘ความเสี่ยง’ ที่ซ่อนในความสำเร็จ

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ชวนมอง ‘6 แรงกระแทก’ ที่ส่งผลสำคัญต่อระบบสุขภาพไทย ซึ่งอาจเป็นคลื่นใต้น้ำที่นำไปสู่ปัญหา หากเรารู้ไม่เท่าทัน

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

7 Feb 2022

Health

31 Oct 2021

หลังเสียงไซเรน : ความเหลื่อมล้ำในการจัดการบริการแพทย์ฉุกเฉิน

101 ชวนเปิดปมปัญหาความเหลื่อมล้ำในการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ผ่านงานวิจัย ‘ความเหลื่อมล้ำด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย’ โดย ศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และคณะ เพื่อสะท้อนปัญหาที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง

กาญจนา ปลอดกรรม

31 Oct 2021

Life & Culture

5 Oct 2021

How to Die – ออกแบบความตายให้เป็นนโยบายสาธารณะ

101 ชวนมองทางเลือกการตายในผู้ป่วยระยะสุดท้ายและแนวโน้มของการผลักดันให้เป็นนโยบายสาธารณะในประเทศไทยผ่านรายงานของ รศ.ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์

กาญจนา ปลอดกรรม

5 Oct 2021

ต้องรอด!

2 Sep 2021

เมื่อมนุษย์ซับซ้อน ความรู้การแพทย์จึงไม่สิ้นสุด: นพ.มานพ พิทักษ์ภากร

101 ชวน ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มาพูดคุยว่าด้วยการเรียนการสอนแพทย์ในปัจจุบัน การเผชิญหน้ากับความตาย และพายุความรู้ใหม่ที่เข้ามาสั่นคลอนความเชื่อเดิม 

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Sep 2021
1 2 3 4 16

RECOMMENDED

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

25 Mar 2024

เราควรทำได้

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าประสบการณ์ในโรงพยาบาลเอกชนในฐานะผู้ป่วย และชวนคิดถึงข้อแตกต่างที่เกิดในโรงพยาบาลรัฐ เมื่อผู้บริหารมีอำนาจตัดสินใจที่ไม่เท่ากัน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

25 Mar 2024

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save