Education
เปิดโลกการเรียนรู้หลากมิติ ทั้งในเชิงโครงสร้างใหญ่ ระบบการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชน
Filter
Sort
นโยบาย Upskill เติมทักษะใหม่ อุดหนุนแค่ค่าเรียนได้ผลหรือไม่
101 PUB สำรวจสถานการณ์การอัปสกิลของแรงงานไทยว่าตอบโจทย์ตรงจุดหรือไม่ หรือยังมีองค์ประกอบสำคัญอะไรที่ขาดหายไปในการถกเถียงนโยบายอัปสกิล

ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์
12 Mar 2023กาฬสินธุ์โมเดล (1) : ประกายแววตาครู
ท่ามกลางข้อถกเถียงมากมายถึงทางออกจากปัญหาการศึกษาไทย แรงกระเพื่อมจากมิตินโยบายแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กจากรัฐบาลกำลังปลุกเร้าบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเล็กๆ ในกาฬสินธุ์ให้ลุกขึ้นมาเปลี่ยนโฉมห้องเรียนของตัวเอง และเสียงของพวกเขาก็น่ารับฟังอย่างยิ่ง

ธิติ มีแต้ม
2 Apr 2018ขอแสดงความ(ไม่)นับถือ : จดหมายรักถึงผู้บริหาร จากอาจารย์ปรัชญาคนหนึ่ง
คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง เขียนจดหมายถึงคณบดีและอธิการบดีถึงก้าวแรกที่อาจนำไปสู่การถดถอยครั้งใหญ่ของศิลปศาสตร์ไทยในอนาคต

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง
27 Mar 2018ไดโนเสาร์ติดปีก นักประดิษฐ์อนาคต : พัทน์ ภัทรนุธาพร เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์โลก
จากปัตตานีสู่ MIT Media Lab คุยกับ พัทน์ ภัทรนุธาพร หรือ พีพี นักประดิษฐ์อนาคตด้วยนวัตกรรมล้ำยุค เช่น เครื่องปรินต์อาหารสามมิติบนอวกาศ มารู้จักชีวิตและมุมมองด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และสังคมไทยของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มด้าน Biotechnology ผู้อยากเป็นไดโนเสาร์ติดปีก

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
12 Mar 2018เปิดโลกความรู้เด็กออทิสติกในสังคมไทย ผ่านสายตาของ รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ
รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธิตเกษตร เล่าประสบการณ์ตรงกว่า 30 ปีในการดูแลเด็กออทิสติก และถอดบทเรียนการเปิดห้องเรียนให้เด็กออทิสติกได้เรียนร่วมกับเด็กปกติ

วันดี สันติวุฒิเมธี
30 Jan 2018Advice for a Young Investigator ก่อนที่ศิษย์จะไปไกลกว่าครู ครูต้องยอมให้ศิษย์ไป
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ ชวนคิดเรื่องภารกิจที่แท้จริงของครู การบูชาครู และความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ ผ่านหนังสือ Advice for a Young Investigator ของกาฆาล

ภาคิน นิมมานนรวงศ์
23 Jan 2018ห้องแล็บชุมชน : นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
คอลัมน์ #TrendRider สัปดาห์นี้ Tomorn Sookprecha จะพาไปพบกับเทรนด์การเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ที่ไม่ต้องง้อรัฐให้มาจัดสรรงบประมาณอีกต่อไป
สิ่งเหล่านี้อาจะฟังดูไกลเกินจริงในประเทศของเรา แต่ตัวอย่างของเทรนด์การเรียนรู้เหล่านี้อาจจุดประกายให้เกิดความเป็นไปได้ใหม่ๆ ก็ได้!

โตมร ศุขปรีชา
11 Jan 2018เหรียญสองด้านของเด็กอัจฉริยะ – สุธาวัลย์ หาญขจรสุข
วันดี สันติวุฒิเมธี ชวน ผศ.ดร.สุธาวัลย์ หาญขจรสุข ศูนย์พัฒนาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มศว ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับ “เด็กอัจฉริยะ” (gifted child) พ่อแม่จะค้นหาศักยภาพในตัวพวกเขา และดูแลเด็กเหล่านี้อย่างไรให้ประสบความสำเร็จในชีวิต

วันดี สันติวุฒิเมธี
30 Nov 2017ถกเรื่องความเหลื่อมล้ำในรั้วโรงเรียน กับ อรรถพล อนันตวรสกุล
วันดี สันติวุฒิเมธี ชวน อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิพากษ์การศึกษาไทย จากความเหลื่อมล้ำในรั้วโรงเรียน จนถึงทางออกของการปฏิรูประบบการศึกษา

วันดี สันติวุฒิเมธี
24 Oct 2017สื่อสารความรู้อย่างเข้าใจ กับครูลูกกอล์ฟ – คณาธิป สุนทรรักษ์
ในโลกการเรียนรู้ นอกจากเนื้อหาและความรู้ที่รอถ่ายทอดจากผู้พูดไปยังผู้ฟัง สิ่งหนึ่งที่เราอาจหลงลืมไปคือปัจจัยการสื่อสารอะไรบ้างที่ทำให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ มาเรียนรู้วิธีสื่อสารอย่างเข้าใจ กับครูสอนภาษาอังกฤษที่แซ่บที่สุดแห่งยุค: ลูกกอล์ฟ – คณาธิป สุนทรรักษ์

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์
27 Jun 2017จุดจบวงการติวเตอร์? : เมื่อ “อูเบอร์สอนภาษา” บุกตลาด
อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เล่าเรื่อง VIPKID “อูเบอร์สอนภาษา” EduTech Startup ที่กำลังมาแรงในประเทศจีน

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์
6 Jun 2017ฉลาดเกมส์โกง: แกะประเด็นปัญหาการศึกษา
ไม่ว่าดูเอามันส์ ดูเอาดราม่า หรือดูเอาว่ามันสมจริงหรือเปล่า แต่ถ้าจะดูทั้งทีแล้ว ก็ดูเอาสาระจริงๆ จังเสียหน่อยเถอะ เพราะหนังฉลาดเกมส์โกง มันคือหนังการศึกษาชัดๆ ที่พูดถึงปัญหาการศึกษาที่อยู่รายล้อมรอบตัวเราทั้งสิ้น ลองไปดูกันว่ามันเกี่ยวยังไง

วชิรวิทย์ คงคาลัย
15 May 2017อีกด้านหนึ่งบนขั้วโลกของเพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์
ชวนสำรวจความคิดและตัวตนของ เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ ที่คุณอาจคุ้นหน้าของเขาในภาพของนักกิจกรรมอายุน้อยที่ดูซีเรียสกับประเด็นสังคมไปเสียทุกเรื่อง แต่บทสนทนาชิ้นนี้จะทำให้เราได้เห็นอีกมุมหนึ่งของเพนกวิน ในฐานะของเด็กวัยรุ่นธรรมดา ที่มีชีวิตไม่ต่างอะไรกับเพื่อนในวัยเดียวกัน

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์
20 Apr 2017เล่นเลโก้แล้วได้อะไร
โตแล้ว ยังจะมาเล่นตัวต่อแบบเลโก้กันอยู่ได้!
หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดแบบนี้ แต่ที่จริงแล้ว เลโก้นั้นมี ‘สาระ’ และ ‘ประโยชน์’ อยู่ไม่น้อย
ถ้าไม่เชื่อ ก็โปรดเลื่อนลงไปอ่านดูกันได้เลย

วชิรวิทย์ คงคาลัย
3 Apr 2017ครูต้องเรียนจบครูมาก่อนหรือไม่?
ในการสอบแข่งขันบรรจุข้าราชการครูปี 2560 กระทรวงศึกษาธิการเปิดโอกาสให้ผู้จบการศึกษาจากสาขาอื่นที่ไม่ใช่ศึกษาศาสตร์สมัครเข้าสอบได้ จากเดิมที่เปิดรับเฉพาะผู้จบคณะศึกษาศาสตร์เท่านั้น
คำถามร้อนของแวดวงการศึกษาไทยในวันนี้จึงได้แก่ “ครูต้องเรียนจบครูมาก่อนหรือไม่?” ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์ นักวิจัยอาวุโสด้านการศึกษาของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) เสนอหลักคิดในการมองปัญหาเรื่องการรับครู คำถามที่ควรถาม และคำตอบที่ทุกฝ่ายในแวดวงการศึกษาควรพิจารณา!

ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์
29 Mar 2017จุดจบของมหาวิทยาลัย? MOOC กับความท้าทายใหม่ในโลกการศึกษา
ในยุค MOOC หรือ Massive Open Online Course มาแรงแซงทุกโค้ง โลกธุรกิจการศึกษาต้องปรับตัวอย่างไร นักเรียนออนไลน์เป็นใคร วิชาอะไรดี วิชาอะไรโดน แล้วมหาวิทยาลัยใกล้ตายหรือยัง!
อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนคิดเรื่องความท้าทายใหม่ในโลกการเรียนรู้
