fbpx

Education

15 Jul 2021

Covid Slide: บาดแผลใหญ่ทางการศึกษา

วรรษกร สาระกุล ชวนสำรวจข้อมูลและตัวเลขเกี่ยวกับปรากฏการณ์ Covid Slide – ปรากฏการณ์การสูญเสียการเรียนรู้ในช่วงโควิด-19 จากโลกจริงเพื่อฉายแนวโน้มของปรากฏการณ์ Covid Slide ในไทย

วรรษกร สาระกุล

15 Jul 2021

Social Issues

14 Jul 2021

เราช่วยเหลือตนเองอะไรได้บ้างเมื่อโรงเรียนปิดเกือบตลอดเวลา

เมื่อโรงเรียนปิดและเด็กต้องอยู่บ้านตลอดเวลา พ่อแม่ควรทำอย่างไรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของลูกๆ?

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

14 Jul 2021

Social Issues

9 Jul 2021

เปิดโรงเรียนได้ไหม ในวันที่โลกยังไม่หายดี

ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงดีเบตการเปิดโรงเรียนในช่วงโควิด-19 ที่มีทั้งข้อดีข้อเสียต่างกัน ทั้งยังมีปัญหาต่างกันในแต่ละพื้นที่

ชลิดา หนูหล้า

9 Jul 2021

Social Issues

6 Jul 2021

เปิดโรงเรียนอีกครั้งดีไหม? เปิดงานวิจัยการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในสถานศึกษา

101 ชวนอ่านงานวิจัยสำรวจการแพร่ระบาดของโควิด-19 ของ UNICEF ตอบคำถามว่าการเรียนในโรงเรียนสัมพันธ์กับการระบาดของโควิด-19 จริงหรือ

กรกมล ศรีวัฒน์

6 Jul 2021

Social Issues

17 Jun 2021

ปัญหาวัคซีน การศึกษาในศตวรรษที่ 21 และแก้ไขรัฐธรรมนูญ

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงปัญหาในการจัดการวัคซีนโควิด อันสัมพันธ์กับการขาดทักษะศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะเรียนรู้

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

17 Jun 2021

Social Issues

15 Jun 2021

Back to SCHOOL เปลี่ยนประเทศไทย ต้องกลับไปที่โรงเรียน?

ในช่วงการเปิดเทอม พริษฐ์ วัชรสินธุ ชวนเปลี่ยนอนาคตประเทศโดยเริ่มจากการเปลี่ยนห้องเรียนและโรงเรียน เมื่อการศึกษามีบทบาทกำหนดค่านิยมในสังคม และค่านิยมเหล่านั้นกลายมาเป็นปัญหาของสังคมในภาพกว้าง

พริษฐ์ วัชรสินธุ

15 Jun 2021

Education

10 Jun 2021

Back to School? : บันทึกของคุณครูในช่วงโควิด-19

บทเรียนการจัดการชั้นเรียนในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้าง 101 เปิดวงสนทนาพูดคุยกับ 4 ครูผู้อยู่หน้าด่านในโลกการศึกษา ว่าด้วยการสอนแบบที่ได้ผลที่สุดในยุคโควิด-19 วิธีคิดของการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป และข้อเสนอเพื่อสนับสนุนครูและการเรียนรู้ในโลกการศึกษาแบบใหม่

กรกมล ศรีวัฒน์

10 Jun 2021

Social Issues

4 Jun 2021

ก่อนออกไปสู่โลกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่าน ‘ข้อคิดสุดท้าย’ ที่เคยให้แก่นิสิตสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนที่จะออกไปทำงานในโลกจริง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

4 Jun 2021

Social Issues

2 Jun 2021

เทคโนโลยีแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้แค่ไหน : บทเรียนจาก 4 พื้นที่จริงของประเทศไทย

นิชาภัทร ไม้งาม เปิดงานวิจัยในประเทศไทยว่าเมื่อนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียนยากจนแล้วได้ผลเป็นอย่างไร

นิชาภัทร ไม้งาม

2 Jun 2021

Education

21 May 2021

3 ปีบนเส้นทางสู่ ‘ความเสมอภาค’ การศึกษาไทยเดินอยู่ตรงไหนแล้ว?

ชวนสำรวจ 3 ปีเส้นทางแห่งการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย รวมทั้งอนาคตของเส้นทาง ผ่านสายตาของ นพ.สุภกร บัวสาย ผู้จัดการ กสศ. และ กนิษฐา คุณาวิศรุต ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริหารเงินอุดหนุนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ กสศ.

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 May 2021

Visual & Infographics

20 May 2021

เด็กจนโอกาส: เมื่อโรคระบาดกั้นกำแพงการเรียนรู้

101 ชวนคุณเปิดบทเรียนความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากไวรัสอย่างหนักหน่วง ไล่เรียงตั้งแต่ภาพความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นในยุคโควิด การสูญเสียการเรียนรู้ ไปจนถึงผลจากการเรียนออนไลน์ที่ยิ่งเปิดแผลความเหลื่อมล้ำให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

กองบรรณาธิการ

20 May 2021

World

18 May 2021

เพราะอนาคตรอไม่ได้! เปิดตำราการศึกษาฉบับเลื่อนไหลหลังโควิด-19

มองการถอดบทเรียนการจัดการศึกษายุคโควิด-19 และแนวทางแก้ไขจากการประมวลแนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพทั่วโลก ของ UNICEF และ OECD

ชลิดา หนูหล้า

18 May 2021

World

14 May 2021

เพราะการศึกษาหยุดไม่ได้ ต่างประเทศเรียนกันอย่างไรในช่วงโควิด

101 พาไปสำรวจการปรับตัวของรูปแบบการเรียนการสอนที่น่าสนใจในต่างประเทศ ว่าทำอย่างไรให้เด็กๆ ยังคงเรียนรู้ต่อไปได้ หรือเรียนรู้ได้มากกว่าเดิม แม้โรงเรียนจะยังไม่กลับคืนสู่ปกติ จากการระบาดของโควิด-19

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

14 May 2021

Education

12 May 2021

เมื่อโควิดดิสรัปต์การศึกษา : เปิดบทเรียนความเหลื่อมล้ำในวันที่โลกติดไวรัส

101 ชวนสำรวจโลกการศึกษาในวันที่โลกติดไวรัส ไล่เรียงตั้งแต่ผลกระทบที่เกิดขึ้น และสำรวจปัญหาสำคัญอย่างความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่รุนแรงขึ้นในช่วงโควิด-19

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

12 May 2021

Politics

21 Apr 2021

“หัวใจสำคัญของนิติศาสตร์คือ การทำให้คนเชื่อว่ายังมีความยุติธรรมอยู่” เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

101 สนทนากับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เกี่ยวกับองค์ความรู้และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ ไปจนถึงบทบาทของคณะในยุคที่กระบวนการยุติธรรมถูกตั้งคำถามจากสังคม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Apr 2021
1 11 12 13 23

MOST READ

Science & Innovation

25 Mar 2024

‘เครื่องคิดเลข’ – ‘ChatGPT’ และการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

ตะวัน มานะกุล ชวนย้อนดูความตระหนกเมื่อนักเรียนอเมริกาเข้าถึง ‘เครื่องคิดเลข’ จนนำไปสู่การออกแบบหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่ อันเป็นตัวอย่างการรับมือเทคโนโลยีเมื่อสังคมกำลังเผชิญ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล

25 Mar 2024

Documentary

23 Apr 2024

‘อยากเรียน ไม่ได้เรียน’ : เสียงจาก ‘ชุมชนโค้งรถไฟยมราช’ เมื่อเด็กกลางเมืองเข้าไม่ถึงการศึกษา

101 พาสำรวจชีวิตเด็กชุมชนโค้งรถไฟยมราชที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ชวนหาสาเหตุของปัญหาและหาคำตอบว่าจะทำอย่างไรให้การศึกษาไทยนับรวมพวกเขาอย่างแท้จริง

ณัชชา สินคีรี

23 Apr 2024

Science & Innovation

7 Apr 2024

อ่อนแอก็สูญพันธุ์! มหาวิทยาลัยกับการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์ต่อ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงแนวทางการรับมือ ChatGPT ในโลกการศึกษา หากมหาวิทยาลัยเลือกที่จะมีบทบาทนำและออกนโยบายในการปรับตัว

ตะวัน มานะกุล

7 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save