fbpx

Science & Innovation

12 Dec 2023

‘คนนิสัยรวย’ มีอยู่จริงไหม?

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจงานวิจัยที่ศึกษาอุปสัยของ ‘คนรวย’ นิสัยแบบใดที่คนรวยมีเหมือนๆ กัน และสำหรับคนไม่รวยแล้ว จะสามารถปฏิบัติตามให้ตัวเองมี ‘นิสัยรวย’ ได้อย่างไร

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Dec 2023

World

16 Oct 2023

การเดินทางของกิมจิ: เมื่อเกาหลีใต้อยากเปลี่ยนเศษอาหารให้เป็นพลังงาน

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงวิธีการจัดการขยะเศษอาหารของเกาหลีใต้ ที่สะท้อนวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของคนเกาหลี และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่ล้ำสมัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

16 Oct 2023

Science & Innovation

16 Oct 2023

คนไทยจะไปดวงจันทร์กับเค้าด้วยทำไม?

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจภารกิจด้านอวกาศของหลากประเทศมหาอำนาจ พร้อมย้อนกลับมาดูที่ทางของไทยในสนามการแข่งขันด้านเทคโนโลยีอวกาศ

นำชัย ชีววิวรรธน์

16 Oct 2023

Science & Innovation

20 Sep 2023

เมื่อการศึกษาเผชิญหน้า AI: แง่มุมไหนที่การศึกษาไทยต้องเตรียมตัว

101 ชวนทำความเข้าใจฉากทัศน์การใช้ AI ในการเรียนรู้ เตรียมความพร้อมสมรรถนะทั้งผู้สอนและผู้เรียนท่ามกลางการพัฒนาของปัญญาประดิษฐ์ ไปจนถึงเรียนรู้จากกรณีศึกษาในประเทศไทยที่มีการประยุกต์ใช้ AI

กรกมล ศรีวัฒน์

20 Sep 2023

Science & Innovation

12 Sep 2023

คิดแบบไหน ก็ได้แบบนั้น : เอาตัวรอดด้วยหลักจิตวิทยา

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจ ‘จุดอ่อน’ ของสมองมนุษย์ ที่อยู่ในรูปแบบของ ‘อคติ’ ซึ่งส่งผลต่อการคิด ตัดสินใจ และอารมณ์ต่างๆ หากเราตระหนักถึงเรื่องพวกนี้ขึ้นมาได้ทันการณ์ ก็จะสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบมากขึ้น

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Sep 2023

Life & Culture

30 Aug 2023

คุณคิดว่า AI มองโลกแบบผู้ชายหรือผู้หญิง? 

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนตั้งคำถามและขบคิดว่า ความคิดและตัวตนของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้รับอิทธิพลจากสังคมชายเป็นใหญ่มากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

30 Aug 2023

Science & Innovation

18 Aug 2023

นักวิทย์ไทยไส้แห้ง (?) : ฟังเสียงที่บอกว่าวิทยาศาสตร์ไม่อาจเบ่งบานในสังคมขาดการสนับสนุนจากรัฐ

101 พาไปตรวจสอบสมมติฐานที่เขาว่ากันว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัยในไทยนั้น ‘ไส้แห้ง’ จนคนไม่เลือกเรียน ฟังเสียง 2 นักวิจัย อดีตนักเรียนทุนรัฐบาลเพื่อเปิดไปสู่ภาพใหญ่ว่ารัฐไทยจริงจังกับการสนับสนุนวิทยาศาสตร์มากแค่ไหน

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

18 Aug 2023

Life & Culture

10 Aug 2023

ทำไมคนชอบโกหก?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยที่เกี่ยวกับการโกหกของมนุษย์ ตั้งแต่นักการเมืองจนถึงคนใกล้ตัว ทำไมการโป้ปดถึงอยู่ในชีวิตประจำวันของเราอย่างแนบแน่น

นำชัย ชีววิวรรธน์

10 Aug 2023

Life & Culture

13 Jul 2023

กิจวัตรลำเค็ญในอวกาศ

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจชีวิตบนความสูงกว่า 100 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลของ ‘นักบินอวกาศ’ ที่ซึ่งกิจวัตรธรรมดาสามัญกลายเป็นเรื่องสุดลำเค็ญได้

นำชัย ชีววิวรรธน์

13 Jul 2023

Life & Culture

20 Jun 2023

ความเจ็บปวดและประโยชน์ที่คาดไม่ถึงจากตัวต่อเลโก้

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจงานวิจัยที่จะเผยถึงเบื้องหลังความสนุก การเสริมสร้างพัฒนาการ ความเจ็บปวด (ถ้าเผลอไปเหยียบ) และประโยชน์ที่คาดไม่ถึงของตัวต่อพลาสติกยอดนิยมที่ชื่อ ‘เลโก้’  

นำชัย ชีววิวรรธน์

20 Jun 2023

Life & Culture

12 May 2023

เลือกตั้งยังไงไม่ให้ ‘เบียว’ ไม่ให้ ‘เบี้ยว’

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปดูงานวิจัยและผลสำรวจจากหลากประเทศ ว่าด้วยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ‘ลงคะแนน’ ให้ผู้สมัครจากพรรคใดพรรคหนึ่ง ไล่เรียงตั้งแต่การชี้นำจากสื่อ การทำโพลแบบมีอคติ การหยิบยกประเด็นทางเชื้อชาติ ศาสนามาหาเสียง ไปจนถึงรูปร่างหน้าตาของผู้สมัคร

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 May 2023

Life & Culture

17 Apr 2023

เมื่อ AI ทำได้ทุกอย่าง มนุษย์ควรวางจริยศาสตร์ให้ AI ไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความสามารถของ Generative AI ในการสร้างสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่เดิมขึ้นจาก Big Data แต่ความก้าวหน้านี้กลับสร้างความท้าทายด้านจริยธรรมต่อมนุษยชาติ

นำชัย ชีววิวรรธน์

17 Apr 2023

Sustainability

17 Mar 2023

ในสังคมที่ต้องการผู้กล้า เราจะรับมือกับ SLAPP การฟ้องปิดปากเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างไร?

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงกรณีการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

17 Mar 2023

Science & Innovation

9 Mar 2023

หรือความขี้เกียจจะช่วยให้มีโอกาสรอดในโลกได้มากขึ้น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงประโยชน์อันคาดไม่ถึงของความขี้เกียจ ที่ช่วยเพิ่มโอกาสมีชีวิตรอดให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์

9 Mar 2023

Life & Culture

28 Feb 2023

หวั่นใจชำรุด มนุษย์ต่างดาว: จักรวาลแสนกว้างใหญ่ แล้วเมื่อไหร่เอเลียนจะติดต่อเรามาสักที

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าวันนี้พรุ่งนี้ มนุษยชาติกับเอเลียนติดต่อกันขึ้นมาได้จริงๆ

จักรวาลกว้างใหญ่ไพศาล จะเป็นไปได้อย่างไรโลกจะเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิต แต่ถึงอย่างนั้น เหตุใดเอเลียนจึงยังไม่เคยติดต่อเรามา มากไปกว่านั้น มนุษย์เราพร้อมแล้วหรือยังหากพวกเขาติดต่อเรามาจริงๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Feb 2023
1 2 3 15

MOST READ

Science & Innovation

25 Mar 2024

‘เครื่องคิดเลข’ – ‘ChatGPT’ และการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

ตะวัน มานะกุล ชวนย้อนดูความตระหนกเมื่อนักเรียนอเมริกาเข้าถึง ‘เครื่องคิดเลข’ จนนำไปสู่การออกแบบหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่ อันเป็นตัวอย่างการรับมือเทคโนโลยีเมื่อสังคมกำลังเผชิญ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล

25 Mar 2024

Science & Innovation

9 Apr 2024

‘อติเทพ ไชยสิทธิ์’ กับฟิสิกส์การได้ยินของคน กบ หนู และตั๊กแตน

101 ชวนอติเทพ ไชยสิทธิ์ คุยถึงศาสตร์ฟิสิกส์การได้ยินในระดับเซลล์ในไทยและระดับโลก ไปจนถึงงานวิจัยศึกษาการได้ยินของสัตว์อย่างหนู กบ ตั๊กแตนของเขา

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

9 Apr 2024

Science & Innovation

7 Apr 2024

อ่อนแอก็สูญพันธุ์! มหาวิทยาลัยกับการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์ต่อ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงแนวทางการรับมือ ChatGPT ในโลกการศึกษา หากมหาวิทยาลัยเลือกที่จะมีบทบาทนำและออกนโยบายในการปรับตัว

ตะวัน มานะกุล

7 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save