fbpx

Happy Family

22 Oct 2020

รัฐหรือเปล่า? รัฐลืมวัยรุ่นหรือเปล่า? – เหตุใดสิทธิและนโยบายเยาวชนของรัฐไทยจึงเลือนราง

เมื่อวัยรุ่นอาจกลายเป็นช่วงชีวิตที่ถูกหลงลืมในสายตารัฐ เพราะถูกนับรวมไปกับกลุ่มเด็ก เราจึงต้องกลับมาทบทวนกันใหม่อีกครั้งว่ารัฐกำลังสวมแว่นตาแบบไหนมองวัยรุ่น ผลที่ตามมาเป็นอย่างไร และรัฐควรจะให้อะไรแก่เยาวชนสมัยนี้

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

22 Oct 2020

Social Movement

22 Oct 2020

Youth Activist Toolkit: คู่มือปั้นคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักเคลื่อนไหวที่มหา’ลัยไม่มีสอน

Eyedropper Fill พาไปรู้จักกับอีบุ๊ก ‘Youth Activist Toolkit’ คู่มือปั้นคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักเคลื่อนไหว หากเด็กคนหนึ่งอยากลุกขึ้นมาเคลื่อนไหวทางสังคม อะไรคือสิ่งที่เขาควรคิดและทำ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

22 Oct 2020

Social Movement

21 Oct 2020

“ศิลปินกับศิลปะคือกระจกสะท้อนภาพของสังคม” – มือบอน

สาธิตา เจษฎาภัทรกุล คุยกับ ‘มือบอน’ ศิลปินสตรีทอาร์ตไทยที่ดังไกลระดับโลกถึงเบื้องหลังชีวิตบนเส้นทางศิลปะ สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ การศึกษา ไปจนถึงปัญหาเสรีภาพการแสดงออกทางการเมืองเมื่อเขาก้าวออกมาสนับสนุนประชาธิปไตยผ่านผลงาน

กองบรรณาธิการ

21 Oct 2020

Happy Family

20 Oct 2020

Youth Manifesto: นโยบายเยาวชนใหม่เพื่อการเมืองของคนหนุ่มสาว

สมคิด พุทธศรี เขียนถึงหลักคิดในการออกแบบนโยบายเยาวชนใหม่เพื่อรองรับการออกมาประกาศเจตนารมณ์ทางการเมืองของคนหนุ่มสาว

สมคิด พุทธศรี

20 Oct 2020

Social Issues

19 Oct 2020

เลือดเนื้อ ‘จะนะ’ ในเงาทะมึน

ธีรภัทร อรุณรัตน์ ลงพื้นที่หาดสวนกง อำเภอจะนะ สงขลา เพื่อสำรวจเลือดเนื้อของชาวจะนะ และขุดค้นแก่นปัญหาเชิงโครงสร้างที่ถูกฝังไว้ในพื้นที่

ธีรภัทร อรุณรัตน์

19 Oct 2020

Democracy

10 Oct 2020

“ประชาธิปไตยในขั้วโลก” กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น

กองบรรณาธิการ

10 Oct 2020

Spotlights

7 Oct 2020

สีของทางเลือกนอกกรอบ? ย้อนคิดใคร่ครวญถึงปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

จากเหตุการณ์สาดสีใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจจนเกิดเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่า การกระทำดังกล่าวเป็นการใช้ความรุนแรงหรือไม่ บทความของ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ชวนเราย้อนคิดใคร่ครวญ และตั้งคำถามกับปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

7 Oct 2020

Politics

1 Oct 2020

“อารมณ์กับตัวตนคนรุ่นใหม่” กับ สุวรรณา สถาอานันท์

สนทนากับ ศ.ดร.สุวรรณา สถาอานันท์ จากภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งข้อสังเกตว่าด้วยความคิด อารมณ์ และตัวตนของคนรุ่นใหม่ผ่านมุมมองมนุษยศาสตร์

กองบรรณาธิการ

1 Oct 2020

Life & Culture

25 Sep 2020

Tahrir Square สนามแห่งการเรียกร้องของประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ชวนสำรวจ Tahrir Square กับบทบาทการเป็นพื้นที่ช่วงชิงทางอำนาจ อุดมการณ์ ระหว่างรัฐบาลและประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ปรัชญพล เลิศวิชา

25 Sep 2020

Interview101

25 Sep 2020

เกียรติภูมิอยู่กลางสนาม

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงงานสัมภาษณ์ที่อาจยังไม่ต้องกดเครื่องอัดเสียง ไม่ใช้กระดาษ ปากกา แต่เริ่มจากเดินทางไปศึกษา สบตาผู้คน โดยเฉพาะในม็อบนักศึกษา

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

25 Sep 2020

Politics

22 Sep 2020

“อ่านพลังคนรุ่นใหม่ ก้าวต่อไปการเมืองไทย” กับ กนกรัตน์ เลิศชูสกุล

ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2020

Democracy

21 Sep 2020

จากรัฐประหาร 49 ถึง ทวงคืนอำนาจราษฎร 63 : ความหลังสู่ความหวัง 19 กันยา

101 พูดคุยกับผู้ร่วมชุมนุม ‘ทวงคืนอำนาจราษฎร’ ถึงชีวิต ความคิดความอ่านบนเส้นทาง 14 ปีการเมืองไทยจากรัฐประหาร 19 กันยา 2549 สู่การประท้วง 19 กันยา 2563 ว่าผันแปรเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง

กองบรรณาธิการ

21 Sep 2020

Social Movement

17 Sep 2020

ประท้วงอย่างไรให้เผ็ดและสร้างสรรค์? : Disobedient Objects สิ่งประดิษฐ์เพื่อการประท้วงจากทั่วโลก

โล่หนังสือ, จักรยาน DIY, ก้อนหินเป่าลม ฯลฯ Eyedropper Fill พาไปรู้จักสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์เพื่อการประท้วงทางการเมือง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

17 Sep 2020

Democracy

15 Sep 2020

“สิทธิมนุษยชนต้องเป็นกระแสหลัก” ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กับบทบาท ‘แอมเนสตี้’

101 สนทนากับ ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล ถึงบทบาทของแอมเนสตี้ในการผลักดันประเด็นสิทธิมนุษยชนในไทย

วจนา วรรลยางกูร

15 Sep 2020

Trends

4 Sep 2020

ประชาชนลุกฮือระลอกใหม่?: เทียบการประท้วงในไทย เบลารุส และอิสราเอล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงเหตุปัจจัยของการประท้วงใหญ่ในเบลารุส อิสราเอล และไทย ที่คล้ายกันทั้งในมิติของการมีผู้นำอำนาจนิยม การรับมือต่อวิกฤตโควิด-19 รวมทั้งองค์ประกอบและยุทธศาสตร์ของขบวนการภาคประชาชน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

4 Sep 2020
1 6 7 8 10

RECOMMENDED

Phenomenon

29 Mar 2024

อย่าทำให้เสรีภาพเป็นปีศาจ : ว่าด้วยเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องความหมายของเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ ตลอดจนความสำคัญของเสรีภาพในฐานะเสาหลักของการสร้างสังคมประชาธิปไตย

โตมร ศุขปรีชา

29 Mar 2024

Politics

5 Apr 2024

การอารยะขัดขืนของเนติวิทย์กับกรณีต้านเกณฑ์ทหาร

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ เขียนถึงเหตุการณ์เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล อ่านแถลงการณ์ต่อต้านการบังคับเกณฑ์ทหาร เทียบกับหลักสันติวิธี

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์

5 Apr 2024

Thai Politics

1 Apr 2024

กบฏเงี้ยว 2445 : การโต้กลับของความทรงจำ กับอุดมการณ์แบบท้องถิ่น-ราชาชาตินิยม

ภูมิชาย คชมิตร เขียนถึงประวัติศาสตร์การก่อกบฏเงี้ยว 2445 ในล้านนา ยุครวมศูนย์อำนาจโดยสยาม ที่ผ่านการสร้างใหม่ตามอุดมการณ์ท้องถิ่น-ราชาชาตินิยม

ภูมิชาย คชมิตร

1 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save