Public Policy
Public Policy
Filter
Sort
ส่อง ‘งบต้านโกง’ ไทย ใช้ทำอะไร คอร์รัปชันไม่ลด
101 PUB ชวนสำรวจความจริงจังความจริงจังแข็งขันของรัฐบาลไทยในการแก้ไขปัญหาทุจริตผ่านงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้าน ‘ทุจริต’ ‘คอร์รัปชัน’ สร้าง ‘คุณธรรม’ ‘ความโปร่งใส’ ว่าถูกใช้สอยได้เกิดประโยชน์และตอบโจทย์กับปัญหาที่เรื้อรังหลายทศวรรษนี้หรือไม่
กษิดิส บุญญะโสภิต
19 Sep 2023เยียวยาล็อกดาวน์แบบล็อกคนรับ: ทำความเข้าใจ เหตุใดบาง ‘อาชีพ’ จึงได้รับเงินช่วยเหลือก่อนคนอื่น
เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู และคณะ ชวนตั้งคำถามถึงมาตรการให้เงินช่วยเหลือของรัฐบาลในช่วงการล็อกดาวน์เดือนกรกฎาคม 2564 ว่าเหมาะสมเพียงใดต่อสถานการณ์จริง

เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู
15 Jul 2021สร้างหนี้ทะลุเพดาน = โง่?
ฉัตร คำแสงชวนคิดว่าการที่รัฐกู้เงินจนหนี้สาธารณะทะลุเพดาน เป็นเรื่องโง่ ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาพูด จริงหรือไม่

ฉัตร คำแสง
20 Jun 2021การสร้างเสริมสุขภาพในฐานะ ‘อภิมหานโยบาย’ ของรัฐ
ธีรพัฒน์ อังศุชวาล เขียนถึงการสร้างเสริมสุขภาพในฐานะนโยบายแม่ หรือ ‘อภิมหานโยบาย’ ที่กำกับการดำเนินนโยบายต่างๆ ของรัฐอีกทีหนึ่ง

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล
16 Jun 2021ทำอย่างไรให้รัฐดูแลเรา? เส้นทางการสร้างรัฐสวัสดิการในสวีเดน
โกษม โกยทอง เขียนถึงเส้นทางกว่าจะเป็นรัฐสวัสดิการของสวีเดน พวกเขาผ่านอะไรมาบ้าง และสังคมทำอย่างไรในการประนีประนอมคนทุกชนชั้นให้เห็นผลประโยชน์ร่วมกัน

โกษม โกยทอง
3 Jun 2021ผู้พิพากษาไม่หนักแน่น ให้ AI ตัดสินแทนเลยดีไหม?
ฉัตร คำแสง ตั้งคำถามว่า จะดีกว่าหรือไม่หากเราจะใช้ AI ตัดสินคดีแทนผู้พิพากษา ในเมื่อมีผลการศึกษายืนยันว่า AI ตัดสินคดีได้เป็นธรรมกว่า

ฉัตร คำแสง
4 May 2021ปราบโกงอย่างไร สินบนถึงได้งอกงาม : มุมมองจากเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
ฉัตร คำแสง พามองปัญหาสินบนในมุมมองเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม เพื่อหาคำตอบว่า ทำไมสินบนในไทยถึงยังงอกงามเรื่อยๆ แม้จะมีการปราบโกง

ฉัตร คำแสง
18 Mar 2021การเมืองเป็นเรื่องกินได้จริงหรือเปล่า
ฉัตร คำแสง พาไปวิเคราะห์ว่า คุณภาพผู้นำและการเลือกตั้งส่งผลต่อเศรษฐกิจมากน้อยเพียงใด เพื่อตอบคำถามที่ว่าการเมืองเป็นเรื่องกินได้จริงหรือไม่

ฉัตร คำแสง
18 Feb 2021กว่า 20 ปี ระบบหลักประกันสุขภาพไทย เปลี่ยนความกังวลให้มั่นคงและมั่นใจ
นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รำลึกถึง ‘หมอสงวน’ ด้วยความหลังวันนับหนึ่งระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทย

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
1 Feb 2021โรคสมองกับกล้ามเนื้อไม่สัมพันธ์กันในภาครัฐ
ฉัตร คำแสง สำรวจกายวิภาคของรัฐไทย เพื่อไขปัญหาการทำงานไม่สอดประสานกันคล้ายกับเป็นโรคสมองกับกล้ามเนื้อไม่สัมพันธ์กัน (Dyspraxia)

ฉัตร คำแสง
13 Jan 2021ความแฟร์ในสังคมอยู่ตรงไหน
ฉัตร คำแสง เขียนถึงวิธีการมอง ‘ความแฟร์’ ตามแนวทางของ John Rawls เพื่อชวนคิดว่านโยบายสาธารณะที่ดีต่อสังคมโดยรวมควรมีหน้าตาเป็นแบบใด

ฉัตร คำแสง
21 Dec 2020เศรษฐศาสตร์การเมืองของความไม่เจริญสักที
ฉัตร คำแสง เขียนถึงเศรษฐศาสตร์การเมืองของนโยบายสาธารณะเพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำให้นโยบายสาธารณะที่ตอบโจทย์ประชาชนมีความเป็นไปได้ทางการเมืองได้อย่างไร

ฉัตร คำแสง
3 Nov 2020ปัญหาทั่วไทย แต่ตรวจอย่างไรก็ไม่เจอ
ฉัตร คำแสง ชวนไขปริศนาทำไมระบบการตรวจสอบปัญหาของภาครัฐจึงไม่เคยพบเจอความผิดปกติใดเลย แม้ระบบการตรวจสอบจะดูดีและตั้งใจตรวจแค่ไหนก็ตาม

ฉัตร คำแสง
16 Sep 2020สภาวะรัฐรุงรังแต่ดันไร้น้ำยา
ฉัตร คำแสง ชวนสำรวจ ‘รัฐ’ จากมิติหน้าที่และความสามารถ เพื่อหาคำตอบว่าทำไมรัฐในประเทศกำลังพัฒนาจึงล้มเหลวในการปฏิรูป

ฉัตร คำแสง
10 Aug 2020อภิสิทธิ์เหนือเชื้อโรค: การสร้าง state quarantine สไตล์อภิสิทธิ์ชน
ชัชฎา กำลังแพทย์ เขียนถึงแนวปฏิบัติของรัฐไทยต่อทหารและคณะทูตต่างประเทศ รวมไปถึงแขกพิเศษอื่น ที่สะท้อนการใช้อำนาจอภิสิทธิ์ชนสร้างพื้นที่ ‘กักกัน’ ของตนเอง

กองบรรณาธิการ
30 Jul 2020ออกแบบนโยบายอย่างฉลาด เพื่อแก้จุดตายของการทำนโยบายไทย
ฉัตร คำแสง เขียนถึง ‘จุดตาย’ ของกระบวนการกำหนดนโยบายไทย ซึ่งเป็นเหตุผลหลักทำให้นโยบายใดๆ ของไทยไร้ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเสนอโมเดลใหม่ของการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายอย่างชาญฉลาด
