fbpx

Politics

12 Jul 2022

ทำไมผู้พิพากษาจึงบิดเบือนการใช้กฎหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิเคราะห์ว่ามีเหตุใดบ้างที่จะทำให้เกิดกรณีการตัดสินผิดพลาดของผู้พิพากษา ทั้งเรื่องความเป็นอิสระ ความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระทั่งเรื่องอุดมการณ์ที่ครอบงำ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jul 2022

Politics

11 Jul 2022

ต้องสร้างนักกฎหมายที่รู้รอบ-กล้าหาญทางจริยธรรม: มองปัญหานิติศาสตร์จากคนกระบวนการยุติธรรม

101 ชวนอ่านความเห็นการปฏิรูปนิติศาสตร์จากมุมมองของคนในกระบวนการยุติธรรม เช่น กฤษฎีกา อัยการ ผู้พิพากษา ตำรวจ และทหาร

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

11 Jul 2022

Politics

8 Jul 2022

รื้อกระบวนการผลิตนักกฎหมาย – จุดตั้งต้นการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

101 เก็บประเด็นจาก ‘101 Public Forum : ปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์สร้างนักกฎหมายไทยในโลกสมัยใหม่’ ที่ชวนคนหลากหลายแวดวงพูดคุยถึงแนวทางการปฏิรูประบบการเรียนการสอนนิติศาสตร์ เพื่อสร้างนักกฎหมายสำหรับ ‘โลกใหม่’

กาญจนา ปลอดกรรม

8 Jul 2022

Law

1 Jul 2022

ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษานิติศาสตร์แห่งชาติเบื้องต้น: ถอดรื้อการเรียนกฎหมายแบบ ‘เนติบัณฑิตไทย’

สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เขียนถึง ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษานิติศาสตร์ ในส่วนโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีและการศึกษาอบรมกฎหมายชั้นเนติบัณฑิต เพื่อผลิตนักกฎหมายให้เป็นผู้พิทักษ์สิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ได้อย่างแท้จริง

สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ

1 Jul 2022

Law

1 Jul 2022

“ต้องออกไปนอกอาณาจักรกฎหมาย” เมื่อสังคมไม่ได้ต้องการแค่นักท่องฎีกา

101 รวบรวมความเห็นจากมุมมองสิทธิมนุษยชน เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และมานุษยวิทยา ในการรับฟังความเห็นของคณะอนุกรรมการสภานิติศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้เห็นข้อเสนอการปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์ที่หลากหลาย

วจนา วรรลยางกูร

1 Jul 2022

Social Issues

29 Jun 2022

ปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์ สร้างนักกฎหมายไทยในโลกสมัยใหม่

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ 101 ชวนคุณสำรวจแนวทางการปฏิรูประบบการเรียนการสอนนิติศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษานิติศาสตร์ระดับสากล

กองบรรณาธิการ

29 Jun 2022

Politics

28 Jun 2022

รื้อการเรียนการสอนนิติศาสตร์ไทย เปลี่ยน ‘นักกฎหมายใบ้’ ให้เป็น ‘ผู้พิทักษ์สิทธิประชาชน’

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนคิดถึงวิธีการ ‘รื้อ’ ระบบการศึกษากฎหมายไทยทั้งในระบบอุดมศึกษาและในทางวิชาชีพ เพื่อไม่ให้นักกฎหมายเป็น ‘ตู้ฎีกาเคลื่อนที่’

มุนินทร์ พงศาปาน

28 Jun 2022

Social Issues

26 Jun 2022

รับน้องที่ขัดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Bizutage)

ชวนมองกฎหมายฝรั่งเศสที่ระบุความผิดฐานรับน้องที่ขัดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (bizutage) อันเป็นกฎหมายที่ไทยยังขาดหายไป

ปกป้อง ศรีสนิท

26 Jun 2022

Law

15 Jun 2022

“ปีศาจอยู่ในรายละเอียด” ชำแหละ PDPA เมื่อช่องโหว่กฎหมายอาจพรากสิทธิคุ้มครองข้อมูลเราได้ทุกเมื่อ กับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล

101 สนทนากับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ชำแหละกฎหมาย PDPA พร้อมเปิดช่องโหว่กฎหมายที่อาจทำให้ข้อมูลประชาชนไม่ได้รับคุ้มครองอย่างที่ควรจะเป็น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

15 Jun 2022

Politics

10 Jun 2022

101 One-on-One Ep.267 สมรสเท่าเทียม ความฝันที่เป็นไปได้? กับ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์

101 ชวนคุยกับ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ผู้ผลักดันร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ว่าเหตุใด ‘พ.ร.บ.คู่ชีวิต’ จึงไม่สามารถทดแทน ‘พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม’ ได้ ความเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในสภาสะท้อนอะไร สังคมไทยเปิดกว้างแค่ไหนต่อสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ และข้อเสนอเรื่องสมรสเท่าเทียมมีโอกาสจะกลายเป็นฝันที่เป็นจริงหรือไม่

101 One-on-One

10 Jun 2022

Politics

7 Jun 2022

เลือกตั้ง ‘ดาวน์อันเดอร์’ กับความหวังของการเปลี่ยนแปลง

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงการเลือกตั้งใหญ่ครั้งล่าสุดของออสเตรเลียเมื่อกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพรรคแรงงานได้คะแนนเสียงมากกว่าพรรครัฐบาล ชวนให้ติดตามนโยบายและการแก้ปัญหาสางปมต่างๆ ของออสเตรเลีย ตั้งแต่ความเหลื่อมล้ำ, ชาติพันธุ์ จนถึงภัยธรรมชาติ

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Jun 2022

Politics

3 Jun 2022

“ทางสายกลางคือคำตอบ” มองลับลวงพรางในนโยบายกัญชาเสรีกับ นพ.บัณฑิต ศรไพศาล

101 พูดคุยกับ ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล นักวิทยาศาสตร์ Centre for Addiction and Mental Health แคนาดา ถึงข้อสังเกตในนโยบายกัญชาและมาตรการควบคุมที่ยังไม่ถี่ถ้วน

วจนา วรรลยางกูร

3 Jun 2022

Curious Economist

31 May 2022

เสรีภาพสื่อสำคัญอย่างไร? ชวนทำความเข้าใจก่อนการมาของ ‘พ.ร.บ. จริยธรรมสื่อ 2.0’

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนมองความสำคัญของเสรีภาพสื่อ พร้อมวิเคราะห์ปัญหาของร่าง พ.ร.บ. จริยธรรมสื่อฉบับใหม่ ที่อาจทำให้สื่อไทยถูกสวมปลอกคอโดยรัฐ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

31 May 2022

Politics

30 May 2022

ไม่ให้ประกัน คือโทษทัณฑ์ต่อผู้บริสุทธิ์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามถึงการไม่ให้ประกันตัวของผู้ต้องหาคดีการเมือง โดยที่ยังไม่มีการตัดสินว่าเป็นความผิด รวมถึงการให้ประกันตัวแบบมีเงื่อนไขคือการเปลี่ยนสภาพจากการติดคุกในเรือนจำมาสู่การติดคุกในบ้าน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

30 May 2022

Politics

24 May 2022

สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอาญาโดยเปิดเผย

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความเข้าใจถึงสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอาญาโดยเปิดเผย ซึ่งทำให้สาธารณชนร่วมฟังการพิจารณาและสืบพยานในศาลได้

ปกป้อง ศรีสนิท

24 May 2022
1 5 6 7 16

RECOMMENDED

Law

20 Mar 2024

ความอับจนในระบบความรู้ของนิติศาสตร์ไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงท่าทีของสถาบันการศึกษาด้านนิติศาสตร์ เมื่อคำอธิบายตามระบบความรู้ด้านนิติศาสตร์ที่สอนกันนั้นไม่ได้เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

20 Mar 2024

Law

4 Apr 2024

“การจำกัดเสรีภาพการชุมนุม เหมือนสร้างเขื่อนกั้นน้ำ” มองกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ เป็นปัญหา กับ พัชร์ นิยมศิลป

101 คุยกับ ดร.พัชร์ นิยมศิลป ถึงความสำคัญของเสรีภาพการชุมนุม และปัญหาการจำกัดเสรีภาพการชุมนุมภายใต้กฎหมายไทย เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ อาจเป็นปัญหา

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

4 Apr 2024

Public Policy

2 Apr 2024

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เมื่อการเยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

สรัช สินธุประมา

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save