fbpx

Interview101

25 Sep 2020

เกียรติภูมิอยู่กลางสนาม

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงงานสัมภาษณ์ที่อาจยังไม่ต้องกดเครื่องอัดเสียง ไม่ใช้กระดาษ ปากกา แต่เริ่มจากเดินทางไปศึกษา สบตาผู้คน โดยเฉพาะในม็อบนักศึกษา

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

25 Sep 2020

Life & Culture

24 Sep 2020

“Air America” : จากภารกิจลับในยุคสงครามเย็นถึงการพา ‘กระดูกอเมริกัน’ กลับบ้าน

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ ชวนทำความรู้จักสายการบิน ‘แอร์อเมริกา’ (Air America) สายการบินเอกชนที่มีบทบาทสำคัญเพื่อสนับสนุนสงครามลับในลาวและสกัดกั้นภัยคอมมิวนิสต์ในช่วงสงครามเวียดนาม

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

24 Sep 2020

Lifestyle

24 Sep 2020

ฮังเลไม่ “ยาก” แต่ “นาน”

#กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา ชวนทำแกงฮังเล อีกเมนูล้านนานที่ทำได้ไม่ยาก หากรู้จัก ‘รอ’ น้ำแกงเข้มข้น หมูสามชั้นฟินๆ กินพร้อมข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ เข้ากับบรรยากาศฟ้าหมาดฝนที่สุด

คำ ผกา

24 Sep 2020

Books

24 Sep 2020

อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ: อดีต ปัจจุบัน และการจัดการความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนบทวิจารณ์รวมเรื่องสั้นของกำพล นิรวรรณ ‘อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ และเรื่องราวอื่นๆ’ ตั้งข้อสังเกตถึงการหยิบยกความทรงจำในอดีตของผู้เขียนมาผสมผสานกับการสร้างสรรค์เรื่องเล่าที่สอดคล้องกับประเด็นปัจจุบันในสังคมไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Sep 2020

Life & Culture

23 Sep 2020

ฉันได้ยิน, ฉันจึงเป็นฉัน (1) : การสูญเสียการได้ยิน ตัวตน และดนตรี

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการสูญเสียการได้ยินของนักดนตรี แม้ว่าพวกเขาอาจประพันธ์ดนตรีต่อไปได้ด้วยการ ‘จินตนาการ’ ถึง ‘เสียงดนตรีในหัว’ แต่ที่ยากลำบากคือการสูญเสียความเป็นตัวตน

อติเทพ ไชยสิทธิ์

23 Sep 2020

Spotlights

18 Sep 2020

สนามหลวง-สนามราษฎร : พื้นที่ต่อสู้ทางอุดมการณ์และความทรงจำร่วมของประชาชน

ชวนอ่านทัศนะจาก ชาตรี ประกิตนนทการ ถึงประวัติศาสตร์สนามหลวงในเชิงการเมืองที่สัมพันธ์กับสามัญชน และ สุชาติ สวัสดิ์ศรี ถึงชีวิตชีวาของสนามหลวงในฐานะพื้นที่ศูนย์กลางความหลากหลายของประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

18 Sep 2020

Thai Politics

17 Sep 2020

จากอารมณ์ความรู้สึกแห่งยุคสมัยถึงการถดถอยทางปัญญาของอนุรักษนิยมไทย สนทนากับสายชล สัตยานุรักษ์

สมคิด พุทธศรี สนทนากับ สายชล สัตยานุรักษ์ ว่าด้วยพลวัตการเมืองไทย อารมณ์ความรู้สึกของคนรุ่นใหม่ และความถดถอยของปัญญาชนอนุรักษนิยม

สมคิด พุทธศรี

17 Sep 2020

Social Movement

17 Sep 2020

ประท้วงอย่างไรให้เผ็ดและสร้างสรรค์? : Disobedient Objects สิ่งประดิษฐ์เพื่อการประท้วงจากทั่วโลก

โล่หนังสือ, จักรยาน DIY, ก้อนหินเป่าลม ฯลฯ Eyedropper Fill พาไปรู้จักสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์เพื่อการประท้วงทางการเมือง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

17 Sep 2020

Science & Innovation

16 Sep 2020

Social Manipulation : เมื่อโซเชียลมีเดียจูงใจให้คลิก ซื้อ และตัดสินใจ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการเข้าถึงข้อมูลของบริษัทโซเชียลมีเดีย ที่ใช้ข้อมูลพฤติกรรมในออนไลน์ของเราเพื่อผลประโยชน์ทั้งในทางธุรกิจและการตรึงเราไว้กับหน้าจอ

โสภณ ศุภมั่งมี

16 Sep 2020

Books

16 Sep 2020

หญิงปากกล้าและเรื่องต้องห้าม The Blind Assassin

‘นรา’ หยิบยก The Blind Assassin อีกหนึ่งผลงานชิ้นเยี่ยมจากปลายปากกามาร์กาเร็ต แอตวูด ผู้เขียน The Handmaid’s Tale ที่กล่าวถึงสิทธิเด็กและสตรี การกดขี่ และประเด็นทางสังคมอีกมากมาย

นรา

16 Sep 2020

Social Problems

15 Sep 2020

“การบำบัดเหล้าคือการจัดความสัมพันธ์” คุยกับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

101 ชวนอ่านบทสนทนากับนพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ว่าด้วยโลกของแพทย์และมานุษยวิทยา รวมถึงระบบบำบัดสุราในปัจจุบันที่คุณหมอโกมาตรนิยามว่า เราอาจจะลองเพิ่ม ‘การจัดความสัมพันธ์’ และ ‘การสื่อความปรารถนาดี’ เข้าไป

กองบรรณาธิการ

15 Sep 2020

Education

15 Sep 2020

ประวัติศาสตร์ที่เริ่มต้นด้วยคำถามและไม่ต้องรีบเชื่อ ในห้องเรียนของ ครูภาคิน นิมมานนรวงศ์

สนทนากับครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ว่าด้วยการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่การจำไปสอบ ความสำคัญของการตั้งคำถาม ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนอยากรู้แต่ครูไม่อยากสอน ไปจนถึงห้องเรียนและหลักสูตรในฝันที่ไม่กักขังทั้งครูและนักเรียน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

15 Sep 2020

Science & Innovation

15 Sep 2020

ไม่ตายดอก เพราะอดเสน่หา?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจวิทยาศาสตร์ของหัวใจ คนเราอกหักแล้วตายได้จริงไหม และผู้หญิงกับผู้ชายใครมีโอกาสป่วยเป็น ‘โรคอกหัก’ มากกว่ากัน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Sep 2020

Lifestyle

14 Sep 2020

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: นักปลดแอกโดนรุมกินโต๊ะและวัฒนธรรม-วัฒนเท

ลุงเฮม่าตอบปัญหา ว่าด้วยสถานการณ์ที่เด็กและผู้ใหญ่เห็นต่างกันกลางโต๊ะอาหาร และวัฒนธรรมที่คนรวมใจกัน ‘เท’ เพื่อต่อต้าน

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

14 Sep 2020

Projects

13 Sep 2020

กับดักเร้นรูป

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและนโยบายช่วยเหลือนักเรียนยากไร้ในระดับมหาวิทยาลัย ที่ปรากฏในหนังสือ ‘The Privileged Poor: How Elite Colleges Are Failing Disadvantaged Students’ โดย Anthony Abraham Jack

แมท ช่างสุพรรณ

13 Sep 2020
1 87 88 89 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save