fbpx

Film & Music

7 Oct 2020

เด็กชายที่ไม่มีใครต้องการ Loveless

‘นรา’ เขียนถึง Loveless ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมสัญชาติรัสเซียจากผู้กำกับ ‘อังเดร ซวายินเซฟ’ ที่สะท้อนชีวิตครอบครัวอันปราศจากความรัก เต็มไปด้วยความขัดแย้ง และการละเลยได้อย่างสมจริง โศกสลด

นรา

7 Oct 2020

People

6 Oct 2020

พูน พุกกะรัตน์ ผู้ซื่อสัตย์ต่อปรีดี พนมยงค์

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงพูน พุกกะรัตน์ หนึ่งในคนสนิทของปรีดี พนมยงค์ ผู้ชายธรรมดาๆ ที่ซื่อสัตย์ต่อรัฐบุรุษอาวุโสจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของเขา

กษิดิศ อนันทนาธร

6 Oct 2020

Life & Culture

6 Oct 2020

กลเมฆบังจันทร์

แมท ช่างสุพรรณ ย้อนอ่านเบื้องหลังวาทกรรม “ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป” ในการเมืองช่วง 6 ตุลาคม 2519 ผ่านหนังสือบันทึกคำบรรยายของอาจารย์กิตติวุฑโฒ ภิกขุ เจ้าของวาทกรรมดังกล่าว

แมท ช่างสุพรรณ

6 Oct 2020

Life & Culture

6 Oct 2020

เดวิด เกรเบอร์ นักมานุษยวิทยาอนาธิปไตย ผู้เชื่อมั่นในความเป็นไปได้แบบอื่นๆ

รำลึกการจากไปของเดวิด เกรเบอร์ ภัควดี วีระภาสพงษ์ ทบทวนเส้นทางชีวิต ความคิดและผลงานของเขาในฐานะนักวิชาการด้านมานุษยวิทยา ปัญญาชนสาธารณะสายอนาธิปไตย และนักเคลื่อนไหวต่อต้านทุนนิยมและรัฐอำนาจนิยม

ภัควดี วีระภาสพงษ์

6 Oct 2020

Thai Politics

6 Oct 2020

เพราะเลือดไพร่ไม่ไร้ค่า

ความเจ็บปวดของการล้อมปราบปี 2553 และความฝันของผู้ที่เรียกตนว่า ‘ไพร่’ จะไม่สูญเปล่า ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการแสดง 99 ศพในการชุมนุม 19 กันยา ทวงคืนอำนาจราษฎร ที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกความสูญเสีย ทวงถามความยุติธรรม และส่งต่อการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยสู่คนรุ่นใหม่

ธนาวิ โชติประดิษฐ

6 Oct 2020

Life & Culture

5 Oct 2020

อาคารสีฟ้าโดดเด้ง: คำถามต่อการปรับปรุงอาคารและการพัฒนาเมืองในอนาคต

สำรวจการการพัฒนาเมืองผ่านกรณีอาคารสีฟ้าฉูดฉาดในเชียงใหม่ เมื่อการทาสีอาคารไม่ผิดกฎแต่อาจไม่ใช่ภาพที่คนในเมืองอยากเห็น รัฐ เจ้าของที่ และประชาชนจะวาดภาพเมืองในอนาคตด้วยกันอย่างไร

ปรัชญพล เลิศวิชา

5 Oct 2020

Lifestyle

4 Oct 2020

รสเผ็ดร้อนก่อนพริกเทศ: รอยรสชาติ โบราณพฤกษคดี และลาบเนื้อ

คอลัมน์โบราณการครัวตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา ชวนสำรวจการเดินทางของรสเผ็ด เราเริ่มเผ็ดพริกเทศกันตอนไหนในอดีต แล้วก่อนจะมีพริกเทศ รสเผ็ดโบราณเป็นอย่างไร เผ็ดจากวัตถุดิบอะไร

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Oct 2020

Books

1 Oct 2020

วรรณกรรมและชีวิตของ กําพล นิรวรรณ นักปฏิวัติผู้พ่ายแพ้

สัมภาษณ์ กําพล นิรวรรณ เจ้าของผลงานรวมเรื่องสั้น ‘อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ’ ว่าด้วยชีวิตและความคิด

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

1 Oct 2020

Education

28 Sep 2020

เมืองมหาวิทยาลัย

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ ชวนมองความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและมหาวิทยาลัยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง และทางออกในการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อให้เมืองและมหาวิทยาลัยเติบโตเคียงคู่กันไปได้อย่างยั่งยืน

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

28 Sep 2020

Life & Culture

25 Sep 2020

Tahrir Square สนามแห่งการเรียกร้องของประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ชวนสำรวจ Tahrir Square กับบทบาทการเป็นพื้นที่ช่วงชิงทางอำนาจ อุดมการณ์ ระหว่างรัฐบาลและประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ปรัชญพล เลิศวิชา

25 Sep 2020

Interview101

25 Sep 2020

เกียรติภูมิอยู่กลางสนาม

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงงานสัมภาษณ์ที่อาจยังไม่ต้องกดเครื่องอัดเสียง ไม่ใช้กระดาษ ปากกา แต่เริ่มจากเดินทางไปศึกษา สบตาผู้คน โดยเฉพาะในม็อบนักศึกษา

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

25 Sep 2020

Life & Culture

24 Sep 2020

“Air America” : จากภารกิจลับในยุคสงครามเย็นถึงการพา ‘กระดูกอเมริกัน’ กลับบ้าน

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ ชวนทำความรู้จักสายการบิน ‘แอร์อเมริกา’ (Air America) สายการบินเอกชนที่มีบทบาทสำคัญเพื่อสนับสนุนสงครามลับในลาวและสกัดกั้นภัยคอมมิวนิสต์ในช่วงสงครามเวียดนาม

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

24 Sep 2020

Lifestyle

24 Sep 2020

ฮังเลไม่ “ยาก” แต่ “นาน”

#กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา ชวนทำแกงฮังเล อีกเมนูล้านนานที่ทำได้ไม่ยาก หากรู้จัก ‘รอ’ น้ำแกงเข้มข้น หมูสามชั้นฟินๆ กินพร้อมข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ เข้ากับบรรยากาศฟ้าหมาดฝนที่สุด

คำ ผกา

24 Sep 2020

Books

24 Sep 2020

อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ: อดีต ปัจจุบัน และการจัดการความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนบทวิจารณ์รวมเรื่องสั้นของกำพล นิรวรรณ ‘อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ และเรื่องราวอื่นๆ’ ตั้งข้อสังเกตถึงการหยิบยกความทรงจำในอดีตของผู้เขียนมาผสมผสานกับการสร้างสรรค์เรื่องเล่าที่สอดคล้องกับประเด็นปัจจุบันในสังคมไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Sep 2020

Life & Culture

23 Sep 2020

ฉันได้ยิน, ฉันจึงเป็นฉัน (1) : การสูญเสียการได้ยิน ตัวตน และดนตรี

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการสูญเสียการได้ยินของนักดนตรี แม้ว่าพวกเขาอาจประพันธ์ดนตรีต่อไปได้ด้วยการ ‘จินตนาการ’ ถึง ‘เสียงดนตรีในหัว’ แต่ที่ยากลำบากคือการสูญเสียความเป็นตัวตน

อติเทพ ไชยสิทธิ์

23 Sep 2020
1 86 87 88 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save