fbpx

Interviews

26 Jan 2024

ในแดนสวรรค์ที่สงครามไม่มีวันสิ้นสุด – คุยกับ ‘รัชดี อันวาร์’ ศิลปินผู้ถ่ายทอดประวัติศาสตร์และชีวิตคนเคอร์ดิสถาน

101 คุยกับ รัชดี อันวาร์ ศิลปินชาวเคิร์ด ถึงงานนิทรรศการเดี่ยว ‘A Hope and Peace to End All Hope and Peace’ ที่นำเสนอประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางนับตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ตีแผ่ความรุนแรงและเลือดเนื้อชีวิตคนเคอร์ดิสถาน รวมถึงชวนตั้งคำถามถึงสันติภาพที่แท้จริงในดินแดนนี้

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

26 Jan 2024

Life & Culture

25 Jan 2024

“ทุนสะท้อนความเห็นเรื่องผังเมืองได้ แต่ไม่ควรชี้นำ” พรสรร วิเชียรประดิษฐ์ ว่าด้วยผังเมืองเรื่องของทุน (?)

101 สนทนากับ ดร.พรสรร วิเชียรประดิษฐ์ สำรวจบทบาทและพื้นที่ของ ‘ทุนนิยม’ ที่มีต่อผังเมือง ในโมงยามที่การปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครกำลังถูกพูดถึงและถูกจับตาอย่างใกล้ชิดเช่นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

25 Jan 2024

Life & Culture

24 Jan 2024

เมื่อความฮาและเสียงหัวเราะออกเดินทาง : ‘ตลกคาเฟ่’ หลังสิ้นยุคทอง ‘คาเฟ่ตลก’

อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนผ่านของ ‘ตลกคาเฟ่’ จากการแสดงในร้านคาเฟ่ตลก มาถึงการจัดเป็นรายการโทรทัศน์ ตลอดจนในอนาคต ที่ตลกคาเฟ่อาจกลายเป็นเพียงอดีตในที่สุด

อิทธิเดช พระเพ็ชร

24 Jan 2024

ถุงนี้ที่เปิดชง

24 Jan 2024

Mr.VietCoffee Hazelnut กับ โรบัสต้าจากเวียดนาม ที่กำลังทะยานสู่กาแฟระดับโลก?!

เอกศาสตร์ สรรพช่าง ประเดิมคอลัมน์ใหม่ ‘ถุงนี้ที่เปิดชง’ ว่าด้วยเรื่องเมล็ดกาแฟโรบัสต้าจากเวียดนาม ที่กำลังจะกลายเป็นแหล่งผลิตกาแฟที่สำคัญชนิดสั่นสะเทือนวงการได้ในอนาคต

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

24 Jan 2024

City

24 Jan 2024

สามชะตากรรมของสามร้านก๋วยเตี๋ยวในสามย่าน

พาท่องสามย่านสำรวจสามร้านก๋วยเตี๋ยวที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนา เพื่อบันทึกประวัติศาสตร์ชุมชนในรูปแบบอาหาร

ภูมิยศ ลาภณรงค์ชัย

24 Jan 2024

Life & Culture

22 Jan 2024

การสาธารณสุขแม่นยำ แม่นแค่ไหน? : ตอนที่ 2 พลังของข้อมูล-เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการดูแลสุขภาพและรักษาโรค

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนตอนต่อว่าด้วยเรื่อง ‘การสาธารณสุขแม่นยำ’ โดยนำเสนอเรื่องการใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ในการรักษาในอนาคต

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

22 Jan 2024

The Good, the Bad and the Critic

22 Jan 2024

วันเกิด โรคประหลาด และการวิจารณ์หนังในความเห็นของผม

บทความแรกของคอลัมน์ The Good, the Bad and the Critic โดย ประวิทย์ แต่งอักษร ชวนสำรวจภูมิทัศน์ของงานวิจารณ์ภาพยนตร์ ความสัมพันธ์ของนักวิจารณ์กับระบบนิเวศของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั้งมวล ตลอดจนคำถามที่ถูกถามมานานหลายปีแล้วว่า ‘นักวิจารณ์หนังยังจำเป็นอยู่ไหม’ (นั่นสิ!)

ประวิทย์ แต่งอักษร

22 Jan 2024

Life & Culture

18 Jan 2024

“กดขี่ไพร่กว่าจะถึงซึ่งนิพพาน”: การเดินทางของนิราศหนองคาย ผลงานของทิม สุขยางค์ ในรอบร้อยปี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘นิราศหนองคาย’ แต่งโดยหลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) ในคราวที่ชนชั้นนำสยามยกทัพไปปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ. 2418 เนื้อหาที่วิพากษ์วิจารณ์การกดขี่ไพร่และทหารชั้นผู้น้อยอย่างถึงพริกถึงขิง ทำให้นิราศหนองคายกลายเป็นหนังสือต้องห้ามคลาสสิกเล่มหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Jan 2024

Life & Culture

17 Jan 2024

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วย new year resolution ป้ายเสื้อผ้า และเรื่องราวของคัลแลน-พี่จอง

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วยการตั้ง new year resolution ที่ทางของป้ายเสื้อ และเรื่องราวของคัลแลน-พี่จอง

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

17 Jan 2024

Education

16 Jan 2024

มหาวิทยาลัยมีไว้ทำไม? เมื่อ ChatGPT และ AI ทำให้เราเรียนจบได้เหมือนกัน

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงการรับมือ ChatGPT ในโลกวิชาการ เมื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยใช้เอไอเขียนรายงานหรือข้อสอบส่งได้อย่างง่ายดาย

ตะวัน มานะกุล

16 Jan 2024

Law

16 Jan 2024

วงการ E-Sport กับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ที่กฎหมายอาญาไทยยังไล่ตามไม่ทัน

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมในวงการอีปอร์ต เมื่อกฎหมายอาญาไทยมีช่องว่างที่ยังตามไม่ทันความเปลี่ยนแปลง

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

16 Jan 2024

Life & Culture

15 Jan 2024

เราล้วนถูกชักจูงด้วยเหตุผล แต่ถูกกระตุ้นด้วยอารมณ์ : ตกลงมนุษย์เป็นสัตว์เจ้าอารมณ์หรือเป็นคนมีเหตุผลกันแน่?

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนสำรวจธรรมชาติของมนุษย์ที่ขับเคลื่อนด้วยอารมณ์แล้วตามมาด้วยการใช้เหตุผล

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

15 Jan 2024

Science & Innovation

15 Jan 2024

“แก้แค้น ไม่แก้ไข” ทำไมการให้อภัยถึงเป็นเรื่องยาก?

นําชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงวิทยาศาสตร์ของการขอโทษและการให้อภัย หาคำตอบว่าแรงจูงใจทางจิตวิทยามีอิทธิพลต่อความโกรธและความเกลียดอย่างไร และทำไมการให้อภัยถึงเป็นเรื่องยากของหลายคน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Jan 2024
1 7 8 9 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save