fbpx

Thai Politics

18 Jan 2021

To write is to territorialize

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการแสดงของ สิกานต์ สกุลอิสริยาภรณ์ ที่สนามหลวงเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2563 ว่าด้วยเรื่องการขีดเขียน บอกเล่าเรื่องราว และช่วงชิงอำนาจในการจดจำประวัติศาสตร์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

18 Jan 2021

Lifestyle

18 Jan 2021

แมนฯ ยูไนเต็ด vs ลิเวอร์พูล : คู่แข่งทางเศรษฐกิจที่กลายมาเป็นคู่ปรับตลอดกาล

คอลัมน์ The Rivalry – คู่ปรับแห่งโลกกีฬา : วิวัฒนาการสงครามตัวแทนของความขัดแย้งในอดีต ประเดิมตอนแรกว่าด้วยประวัติศาสตร์คู่แค้น แมนฯ ยู – ลิเวอร์พูล โดยสมศักดิ์ จันทวิชชประภา

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

18 Jan 2021

City

14 Jan 2021

ออกแบบเมืองด้วยกลิ่น: ผัสสะที่ถูกมองข้ามนานนับพันปี

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจ ‘Smellscape’ หรือกลิ่นที่ลอยอยู่ในเมืองจากการออกแบบและวางผังเมือง

โตมร ศุขปรีชา

14 Jan 2021

Life & Culture

13 Jan 2021

Tone Deaf โลกสวยตาใสในสังคมเจ็บจริง

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงภาวะ tone-deaf หรือ ภาวะการขาดความเข้าอกเข้าใจว่าผู้อื่นรู้สึกอย่างไร โดยเล่าผ่านความโลกสวยจนมองข้ามรากของปัญหาผ่านชุดโฆษณาเป๊ปซี่ Live for Now

พิมพ์ชนก พุกสุข

13 Jan 2021

People

12 Jan 2021

จาก ‘ฮีโร่’ สู่ ‘ตัวร้าย’ เกิดอะไรขึ้นกับแจ็ค หม่า ที่รัฐบาลจีนติดป้ายว่าเป็น ‘นายทุนผีดูดเลือดผู้ชั่วร้าย’

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึง แจ็ค หม่า นักธุรกิจอันดับต้นๆ ของจีนและของโลก เกิดอะไรขึ้นกับเขาเมื่อจู่ๆ หายตัวไป และภาพลักษณ์ของเขาเปลี่ยนไปอย่างไรในสายตาคนจีน

โสภณ ศุภมั่งมี

12 Jan 2021

Trends

12 Jan 2021

คน-เมือง 2020 digital edition : จากกระแสแห่งอนาคต สู่ความปกติใหม่ (?) ในยุคโรคระบาด

ในโอกาสเปิดปี 2021 101 ชวนมองย้อน ‘ความเป็นเมือง’ และ ‘ชีวิตคนเมือง’ ที่ผ่านมาในปี 2020 ว่าต้องเผชิญกับมรสุมอะไรบ้าง และอะไรคือเค้าลางของอนาคตคน-เมืองที่กำลังจะผ่านเข้ามาในปี 2021 – และในอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jan 2021

Life & Culture

11 Jan 2021

‘แผนที่’ กำลังหลอกเราอยู่?

ปรัชญพล เลิศวิชา ชวนมองอิทธิพลของแผนที่ต่อการสร้างความเชื่อและความคิดของผู้คน โดยเฉพาะแผนที่ดิจิทัลที่เข้ามามีบทบาทระดับชีวิตประจำวันของผู้คน

ปรัชญพล เลิศวิชา

11 Jan 2021

shaped by architecture

11 Jan 2021

รัฐสภาไทยที่ไม่มีประชาชน

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงแนวคิดการออกแบบสัปปายะสภาสถาน และตั้งคำถามกับพื้นที่เพื่อประกอบ ‘ความดี’ แห่งนี้ ว่าใช้ได้จริงแค่ไหนในระบอบประชาธิปไตย

รชพร ชูช่วย

11 Jan 2021

Thai Politics

8 Jan 2021

ปรับตัว รับใช้สังคม : สื่อ-ศิลป์ ในวิกฤตโรคและการเมืองปี 2020

101 ชวนคุณย้อนมองสื่อและศิลป์ผ่านผลงานในปี 2020 เพื่อทบทวนภาพกว้างของสถานการณ์อันท้าทายในปีที่ผ่านมา ซึ่งอาจสะท้อนภาพรางๆ ของอนาคตข้างหน้าว่า สื่อและศิลป์จะเดินทางต่ออย่างไรในปีที่ใครๆ ต่างหวาดกลัวว่าจะหนักหนาไม่แพ้กัน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

8 Jan 2021

China

8 Jan 2021

ถ้าไม่มีโจว เอินไหล… ก็ไม่มีมหาอำนาจจีนในวันนี้

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ‘โจว เอินไหล’ หนึ่งในมหาบุรุษที่ชาวจีนเคารพรักมากที่สุด ในวาระครบรอบ 45 ปีการถึงแก่อสัญกรรม

ปิติ ศรีแสงนาม

8 Jan 2021

Film & Music

8 Jan 2021

SOUL วิญญาณสานฝัน ในวันผิวเปลี่ยนสี

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงภาพยนตร์อนิเมชันเรื่อง Soul อันเป็น Black Cinema อย่างเต็มตัวเรื่องแรกของค่าย Pixar Studios โดยผู้กำกับที่ไม่ใช่คนผิวดำ

‘กัลปพฤกษ์’

8 Jan 2021

People

6 Jan 2021

คำราชาศัพท์เรียก ‘รก’ ว่าอะไร?: ปัญหาคาใจใน สาส์นสมเด็จ

คำราชาศัพท์ของ ‘รก’ เรียกว่าอะไร? กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเรื่องราวการตามหาคำตอบของคำถามที่ดูเหมือนง่าย แต่น้อยคนนักที่จะรู้จริง

กษิดิศ อนันทนาธร

6 Jan 2021
1 78 79 80 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save