fbpx

Life & Culture

2 May 2021

พระเอกในความมืด: อดีต ปัจจุบัน การสิง และการถูกผีสิง

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงนวนิยาย ‘พระเอกในความมืด’ ของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา วรรณกรรมผีที่ไม่หลอน แถมยังชวนหัวร่อได้ทุกบรรทัด นอกจากนี้ ‘การสิง’ ในนวนิยายเรื่องนี้ยังชวนให้คบคิดถึงการมีอยู่ของปัจจุบัน ว่าจริงหรือที่ปัจจุบันไม่ได้ถูกควบคุมโดยอดีต

อาทิตย์ ศรีจันทร์

2 May 2021

Life & Culture

30 Apr 2021

Gender – Neutral Design : การออกแบบในโลกที่เพศไม่ได้ถูกจำกัดแค่สอง และข้าวของไม่ได้มีแค่สีฟ้ากับชมพู

ในวันที่เพศไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ชายและหญิง หน้าตาของสินค้าและบริการต่างๆ ทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill พาไปสำรวจโลกของการออกแบบที่ไม่ว่าจะสินค้าหรือบริการใดๆ ก็ล้วนลื่นไหลทางเพศ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

30 Apr 2021

Politics

29 Apr 2021

HONGKONGERS 2014 ความหวังคือการต่อต้าน

คอลัมน์ Cinema of Resistance ตอนที่ 2 ของวิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ว่าด้วยสารคดีที่เล่าเรื่องคนรุ่นใหม่ฮ่องกงที่ลุกขึ้นมาต่อสู้ทางการเมือง

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

29 Apr 2021

Life & Culture

29 Apr 2021

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยโต๊ะข้างๆ เสียงดัง และ แต่งตัวสุภาพแล้วเย็นสบาย

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วยโต๊ะข้างๆ เสียงดังในร้านบุฟเฟต์ชาบู และแต่งตัวสุภาพแล้วเย็นสบาย ทำได้ด้วยหรือ

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

29 Apr 2021

Life & Culture

29 Apr 2021

‘อวัยวะหมู’ สู่ ‘ร่างกายมนุษย์’ : การปลูกถ่ายอวัยวะที่อาจเกิดขึ้นในปีนี้

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะจากสัตว์ไปสู่คน ซึ่งอาจเห็นความสำเร็จได้ใน 1-2 ปีนี้

โสภณ ศุภมั่งมี

29 Apr 2021

Life & Culture

27 Apr 2021

‘ทางเลือกวัคซีน ทางรอดประเทศไทย’ กับ มานพ พิทักษ์ภากร

101 ชวน ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มาคุยว่าด้วยประเด็นวัคซีนโควิด-19

กองบรรณาธิการ

27 Apr 2021

Life & Culture

27 Apr 2021

NOMADLAND สุดเขตชายแดนคือรั้วบ้านของฉัน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงภาพยนตร์ Nomadland ของผู้กำกับหญิงชาวจีน Chloé Zhao ที่กวาดรางวัลจากเวทีการประกวดออสการ์ ครั้งที่ 93 ไปถึง 3 รางวัล ตัวหนังเล่าถึงภาพชีวิตทางเลือกของกลุ่มคนอเมริกันที่ปฏิเสธการตั้งเหย้าเรือนเป็นหลักแหล่งแห่งที่ ใช้ชีวิตประจำวันกินอยู่หลับนอนใน ‘รถบ้าน’ และย้ายตำแหน่งเพื่อหางานทำไปเรื่อยๆ ในแบบฉบับของกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad)

‘กัลปพฤกษ์’

27 Apr 2021

Life & Culture

27 Apr 2021

เมืองเสี่ยง

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง การจัดการความเสี่ยง ความไม่แน่นอนและผลกระทบที่ตามมาในอนาคตที่ ‘เมือง’ ในฐานะสถาบันหนึ่งของสังคมต้องขบคิด

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

27 Apr 2021

Life & Culture

26 Apr 2021

วิธีอ่าน สาวไห้ นวนิยายเล่มแรกสุดของ วิตต์ สุทธเสถียร โดยมิยอมเปิดเผยเนื้อหา

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนอ่าน ‘เสาไห้’ นวนิยายเล่มแรกของ ‘วิตต์ สุทธเสถียร’ นักเขียนคนสำคัญในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

26 Apr 2021

Life & Culture

26 Apr 2021

Mountains as places of education, memory, bromance, and so on and so on…

แมท ช่างสุพรรณ ชวนอ่านเรื่องราวมิตรภาพของลูกผู้ชายที่มีฉากหลังเป็นยอดเขาสูงชัน ในนวนิยาย ‘แปดขุนเขา’ (Le otto montage) โดยเปาโล คนเญตติ นักเขียนชาวอิตาลี

แมท ช่างสุพรรณ

26 Apr 2021

Health

23 Apr 2021

‘หนึ่งปี (และปีต่อไป) โควิด-19’ เราจะอยู่ร่วมกับโรคระบาดอย่างไร? คุยกับนักวิจัย วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย และ จุฑามาศ พราวแจ้ง

101 สนทนากับ วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย และจุฑามาศ พราวแจ้ง นักวิจัยจากโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ เกี่ยวกับเรื่องโควิด-19 วัคซีน และการอยู่ร่วมกับโรคระบาดต่อจากนี้

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

23 Apr 2021

Life & Culture

23 Apr 2021

ที่อยู่อาศัยที่เท่าเทียมคือทางรอด

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงสิทธิในการมีอยู่ที่อาศัยที่เท่าเทียมของคนทุกกลุ่ม ซึ่งหมายถึงการมีที่อยู่ที่ได้มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย และไม่แออัด

รชพร ชูช่วย

23 Apr 2021

Life & Culture

22 Apr 2021

101 In Focus Ep.76 : เจาะวัคซีนแก้วิกฤตโควิดระลอก 3

101 In Focus สัปดาห์นี้ พาไปเจาะวัคซีนแก้วิกฤตโควิดระลอก 3 เราจะเอาตัวรอดจากสถานการณ์ปัจจุบันและวางแผนสู้อนาคตอย่างไร แผนวัคซีนควรเดินอย่างไรต่อ นโยบายควบคุมโรคและนโยบายเศรษฐกิจควรวางจังหวะก้าวอย่างไร

กองบรรณาธิการ

22 Apr 2021
1 70 71 72 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save