fbpx

Life & Culture

17 Jun 2021

โบราณคดีขั้วโลกเหนือในวันที่น้ำแข็งกำลังละลาย: คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ดูแลวัตถุโบราณแข่งกับเวลา

คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ทำงานในขั้วโลกเหนือ ว่าด้วยโบราณคดีในวันที่น้ำแข็งขั้วโลกละลาย และสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ได้จากร่องรอยของผู้คนในอดีต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

17 Jun 2021

People

16 Jun 2021

การปลูกฝีของจักรพรรดินีผู้แทงม้าตัวเดียว

คอลัมน์ใหม่ ‘The Scythe’ ว่าด้วยความเป็น-ความตายของผู้คนที่เชื่อมโยงมาสู่เรื่องราวของยุคสมัย โตมร ศุขปรีชา ประเดิมตอนแรกด้วยเรื่องราวของ ‘โธมัส ดิมสเดล’ แพทย์ฝีมือดีผู้เชี่ยวชาญการปลูกฝีป้องกันโรคฝีดาษ ‘ม้าตัวเดียว’ ที่จักรพรรดินีแห่งรัสเซียเลือกแทงจนประสบความสำเร็จในการรักษาโรค และเป็นบันไดก้าวสำคัญในประวัติศาสตร์การพัฒนาวัคซีน

โตมร ศุขปรีชา

16 Jun 2021

Health

16 Jun 2021

การสร้างเสริมสุขภาพในฐานะ ‘อภิมหานโยบาย’ ของรัฐ

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล เขียนถึงการสร้างเสริมสุขภาพในฐานะนโยบายแม่ หรือ ‘อภิมหานโยบาย’ ที่กำกับการดำเนินนโยบายต่างๆ ของรัฐอีกทีหนึ่ง

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล

16 Jun 2021

Life & Culture

16 Jun 2021

ไทรบไท สู่ไทยรบลาว: สงครามชาติพันธุ์เคียงโศกนาฏกรรม ขุนช้าง-ขุนแผน-วันทอง-ลาวทอง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงความแปรเปลี่ยนในแนวคิดเชื้อชาตินิยม ที่มีการขับเน้น ‘ศัตรู’ ที่แตกต่างกันในพงศาวดารและวรรณกรรม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

16 Jun 2021

Life & Culture

15 Jun 2021

อยากดังบนโลกออนไลน์ไม่จำเป็นต้อง ‘จริง’ เสมอไป ตราบใดที่ ‘สมจริง’ มากพอ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการสร้างตัวตนในโลกออนไลน์ ที่แม้จะไม่ได้ตรงกับตัวจริง แต่ถ้ามันทำให้คนในโซเชียลฯ สนใจ สิ่งนั้นก็อาจจะคุ้มค่า เพราะผู้คนสนใจความจริงน้อยกว่าความสมจริง

โสภณ ศุภมั่งมี

15 Jun 2021

Life & Culture

14 Jun 2021

เมืองใหม่หลังโควิด ฉบับไม่ดิสโทเปีย

101 ชวนคุณดูต้นแบบการพัฒนาเมืองในต่างประเทศว่าพวกเขาเรียนรู้อะไรจากโควิด-19 และวางแผนพัฒนาไปทางไหนถ้าไม่อยากให้เมืองกลายเป็นฉากนิยายดิสโทเปีย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

14 Jun 2021

Life & Culture

13 Jun 2021

ม่วนกุ๊บ EP.5 – อูยุอะยะ กะเดี้ยกะด้อ จอกลอกแจกแลก มะลิงกิงก่อง ฯลฯ

คอลัมน์ ‘ม่วนกุ๊บ’ เดือนนี้ ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย พาไปทำความรู้จักคำวิเศษณ์ในภาษาลาว ที่อธิบายภาพได้อย่างวิเศษ และหากอยากทำความเข้าใจว่าคนอีสานพูดอะไรกัน จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเข้าใจคำวิเศษณ์ที่มาเป็นคู่สร้อยจำนวนมหาศาลนี้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

13 Jun 2021

Politics

11 Jun 2021

หกปีหลังจากภาคสนามกับอ้างอิงท้ายเรื่องหมายเลข 42 ในหนังสือ Moments of Silence

ธนาวิ โชติประดิษฐ เล่าประสบการณ์วิจัยภาคสนามในเขตภูพยัคฆ์ จ.น่าน ที่ชวนให้ตั้งคำถามถึงประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างรัฐไทยและ พคท. และคำตอบที่พบในหนังสือ moments of silence ของธงชัย วินิจจะกูล

ธนาวิ โชติประดิษฐ

11 Jun 2021

Life & Culture

11 Jun 2021

Communitarianism กับ Elitism: บทเรียนจากวงการฟุตบอล

อั๊บ สิร นุกูลกิจ เขียนถึงดรามาโครงการ ‘ซูเปอร์ลีก’ ที่ทีมฟุตบอลชั้นนำรวมตัวกันทำลีกของตัวเอง ที่สะท้อนให้เห็นความซับซ้อนของความเป็นมนุษย์และตลาดได้อย่างน่าสนใจ

อั๊บ สิร นุกูลกิจ

11 Jun 2021

Life & Culture

10 Jun 2021

อนาคตท่ามกลางวิกฤตและความท้าทาย วงการหนังสือไทยต้องรอด!

101 เปิดวงสนทนาสำรวจการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวของวงการหนังสือไทย เพื่อรับมืออนาคตที่เต็มไปด้วยวิกฤตและความท้าทายใหม่ๆ

ชลลดา โภคะอุดมทรัพย์

10 Jun 2021

Life & Culture

9 Jun 2021

ความนิยมเยอรมันใน ‘ปรัสเซียแห่งบูรพาทิศ’

อ่านความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับเยอรมัน ที่เกาะเกี่ยวโยงใยกันอย่างแน่นแฟ้นจนกำเนิดยุคแห่ง ‘ความนิยมเยอรมัน’ ในญี่ปุ่นช่วงปี 1880 และส่งผลมาถึงปัจจุบัน

ชลิดา หนูหล้า

9 Jun 2021

Life & Culture

9 Jun 2021

เกือบจะเป็นมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการโรงแรม

เหตุใดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงจะถูกย้ายและกลายเป็นโรงแรม? อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวการปกป้องสถานศึกษาจากอำนาจรัฐของชาว มธก.

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

9 Jun 2021
1 68 69 70 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save