fbpx

World

4 Oct 2021

กำแพงเบอร์ลิน วันชาติเยอรมนีและวัฒนธรรมป็อป สู่ ‘ความเป็นชาติ’ ที่แปรเปลี่ยน

3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

4 Oct 2021

Life & Culture

4 Oct 2021

ร้านหนังสือ 24 ชั่วโมงสุดท้าย : อดีต/ปัจจุบัน และ อดีตของชนชั้นกลาง

อาทิตย์ ศรีจันทร์ วิจารณ์นวนิยาย ‘ร้านหนังสือ 24 ชั่วโมงสุดท้าย’ ของกิตติศักดิ์ คงคา วรรณกรรมที่ว่าด้วยการกลับไปแก้ไขอดีตเพื่อเยียวยาความทุกข์โศกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และตั้งข้อสังเกตถึงการคร่ำครวญอดีตของ ‘คนชนชั้นกลาง’

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 Oct 2021

Life & Culture

30 Sep 2021

‘เราต้องการเมืองสุขภาพดี’ รีเซ็ตเมืองใหม่จากภัยโรคระบาดแห่งศตวรรษ – นิรมล เสรีสกุล

101 คุยกับ ‘นิรมล เสรีสกุล’ ผู้อำนวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC) ถึงภาพใหญ่ของเมืองต่างๆ ในการรับมือโรคระบาดและการออกแบบเมืองหลังโควิด

กองบรรณาธิการ

30 Sep 2021

Life & Culture

30 Sep 2021

20 ปีต่อจากนี้จะเป็นเช่นไร? ว่าด้วยอนาคตของคนไร้บ้านในเมืองเทพสร้าง

101 ชวนมองอนาคตของการไร้บ้านในเมืองผ่านงานวิจัยของ อนรรฆ พิทักษ์ธานิน และ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ ที่สร้างภาพอนาคตของการไร้บ้านในกรุงเทพฯ ไปจนถึงข้อเสนอเพื่อป้องกันการไร้บ้าน

กรกมล ศรีวัฒน์

30 Sep 2021

Life & Culture

30 Sep 2021

กระดูกของดันเต้: ว่าด้วยอำนาจวรรณกรรม – จากสันตะปาปาถึงมุสโสลินี

คอลัมน์ ‘The Scythe’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ดันเต้ กวีชื่อดังชาวอิตาเลียนเจ้าของมหากาพย์ Divine Comedy ผู้มีชะตาชีวิตหลังความตายอันแปลกประหลาด เพราะเถ้ากระดูกของเขาถูกช่วงชิง ฝังแล้วขุด ขุดแล้วฝังอยู่หลายครั้งตลอดหลายร้อยปี เพราะ ‘อำนาจวรรณกรรม’ ที่เขาเขียนขึ้นเองกับมือ

โตมร ศุขปรีชา

30 Sep 2021

Lifestyle

29 Sep 2021

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วย ติชมโดยไม่ต้องโกหก และอุปสรรคในสังคมใส่หน้ากากคือมายา

ลุงเฮม่า ตอบปัญหาว่าด้วยครัวซองไส้ทุเรียนที่ไม่ได้อร่อยเหมือนเวลากินแต่ละอย่างแยกกัน และจะทำอย่างไรหากจำหน้าคนไม่ได้เพราะทุกคนก็สวมมาสก์เหมือนๆ กันทั้งนั้น!?

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

29 Sep 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

เปิดความเห็นของนักอ่าน ใน ‘ความน่าจะอ่าน ขวัญใจมหาชน 2021’

รวมความเห็นจากนักอ่านที่ร่วมโหวต ‘ความน่าจะอ่านขวัญใจมหาชน 2021’ พร้อมประกาศผลหนังสือที่ได้รับการโหวตสูงสุดจากนักอ่าน

กองบรรณาธิการ

28 Sep 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

‘NEW (AB)NORMAL/(ผิด)ปกติใหม่’ ประมวลภาพความจริงโควิดกับคนไทยใน ๑๕ นาที

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง ‘ผิดปกติใหม่’ ของผู้กำกับ สรยศ ประภาพันธ์ หนังสั้นตลกเสียดสีหน้าตาย ที่เล่าเรื่องราว ‘ความไม่ปกติ’ ทั้งหลายในการฝ่าวิกฤตของประเทศไทยได้อย่างขบขันและขมขื่นในเวลาเดียวกัน ชนิดที่ว่าแม้จะดูๆ ไปแล้วหัวเราะร่าแต่ก็ช่วยไม่ได้ที่จะน้ำตารินๆ เมื่อระลึกขึ้นได้ว่านี่มันเป็นหนังสะท้อน ‘ชีวิตคนไทย’ ชัดๆ

‘กัลปพฤกษ์’

28 Sep 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

ก๋วยเตี๋ยวแห้งแบบ ‘ยำ’

คำ ผกา ชวนทำก๋วยเตี๋ยวแห้งในแบบฉบับของ #กับข้าวกับแขก พลิกแพลงจากสูตรก๋วยเตี๋ยวแห้งใส่ถุงในความทรงจำเมื่อครั้งวัยมัธยมที่สุดแสนจะแก่นเซี้ยวเปรี้ยวซ่า กลายมาเป็นยำก๋วยเตี๋ยวแห้ง อาหารทานเล่น รสชาติอร่อยแบบยั่วๆ ในราคาสบายกระเป๋า

คำ ผกา

28 Sep 2021

World

27 Sep 2021

ความทรงจำของลมหายใจที่ถูกเนรเทศ

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงเรื่องราวชีวิตของ ‘จีนเป็ง’ ผ่านหนังสือ ‘ประวัติศาสตร์คู่ขนาน เรื่องเล่าเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา’ หรือบันทึกความทรงจำของจีนเป็งเอง

แมท ช่างสุพรรณ

27 Sep 2021

Life & Culture

27 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ทัศนะเล็กๆ น้อยๆ ต่อ ‘รัช ในแดนวิปลาส’

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึง ‘ในแดนวิปลาส’ ของรัช หนังสือที่ถูกเลือกมากที่สุดจากคนวงการหนังสือ ในความน่าจะอ่าน 2021

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

27 Sep 2021

Life & Culture

25 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] หัวใจสำคัญของ Makoto Marketing: การตลาดแบบจริงใจสไตล์ญี่ปุ่น

ศิวะภาค เจียรวนาลี เขียนถึงหนังสือ Makoto Marketing ของเกตุวดี Marumura ว่าด้วยการตลาดแบบจริงใจสไตล์ญี่ปุ่น 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021

ศิวะภาค เจียรวนาลี

25 Sep 2021

Life & Culture

25 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] The World Without Us เมื่อโลกไม่มีเรา: ต้นธารแนวคิดการฟื้นชีวิตธรรมชาติ (Rewilding)

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกไม่มีเรา’ 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 โลกจะฟื้นฟูตัวเองอย่างไร ในวันที่ไม่มีมนุษย์อยู่

เพชร มโนปวิตร

25 Sep 2021

Life & Culture

24 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] เมื่อโลกซึมเศร้า: มันไม่ใช่ความผิดของคุณ

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกซึมเศร้า: Mark Fisher, โลกสัจนิยมแบบทุน และลัดดาแลนด์’ ผลงานของสรวิศ ชัยนาม 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยโลกสัจนิยมแบบทุน และชวนตั้งคำถามว่าอาการซึมเศร้ารวมหมู่ที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของปัจเจกหรือเรื่องของทุนกันแน่

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

24 Sep 2021
1 60 61 62 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save