fbpx

Life & Culture

21 Feb 2024

ลายเส้นของ ‘เฟื้อ หริพิทักษ์’ สมบัติล้ำค่าที่เพิ่งถูกเปิดเผย

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงเรื่องราวชีวิตของ ‘เฟื้อ หริพิทักษ์’ ครูใหญ่ของวงการศิลปะสมัยใหม่ของไทย และการจัดแสดงผลงานของเขาอีกครั้งในรอบ 31 ปี

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

21 Feb 2024

Life & Culture

21 Feb 2024

เสียงกรีดร้องของยุคสมัย

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น พาไปสำรวจเส้นทางศิลปะของ เอดเวิร์ด มุงค์ ศิลปินชาวนอร์เวย์ผู้ให้กำเนิดงานอันลือลั่นอย่าง The Scream ที่ในเวลาต่อมากลายเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมกระแสหลัก หลังถูกดัดแปลงให้กลายเป็นงานป๊อปอาร์ตและส่งอิทธิพลไปจนถึงงานภาพยนตร์

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Feb 2024

Life & Culture

21 Feb 2024

กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง: การเมืองเรื่องต่างชาติถือครองที่ดิน และมรณกรรมของอาลักษณ์ชาวสยาม

อ่านประวัติศาสตร์เรื่องการถือครองที่ดินของชาวต่างชาติในสยาม และการทูตไทย-อังกฤษผ่านหนังสือ ‘กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

21 Feb 2024

Life & Culture

20 Feb 2024

ไร้ภาพ-หลากเสียง – ไร้เสียง หลากภาพ ว่าด้วยงานของ เหงียน ตรินห์ ตี

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เล่าถึงงานศิลปะของ เหงียน ตรินห์ ตี ศิลปินและคนทำหนังชาวเวียดนาม ซึ่งงานของเธอถูกจัดแสดงในนิทรรศการไทยแลนด์เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 พร้อมกันนี้ เขาก็พาไปสำรวจภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์และการเมืองในงานเรื่องก่อนๆ หน้าของตี กับการนิยามความหมายของ ‘เสียง’ และ ‘ภาพ’ ในอีกรูปแบบหนึ่ง

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

20 Feb 2024

Life & Culture

20 Feb 2024

เล็กๆ ไม่…ใหญ่ๆ ปล้น The Killing

‘นรา’ ชวนชมภาพยนตร์เรื่อง The Killing หนึ่งในผลงานเรื่องเยี่ยมของสแตนลีย์ คูบริค ที่เปี่ยมล้นด้วยเทคนิคการเล่าเรื่องอย่างแพรวพราวและความบันเทิงถึงขีดสุด

นรา

20 Feb 2024

Life & Culture

19 Feb 2024

รีวิวไม่ใช่โฆษณา วิจารณ์ไม่ใช่สปอยล์ และสปอยล์ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย

คอลัมน์ The Good, the Bad and the Critic โดย ประวิทย์ แต่งอักษร ว่าด้วยเส้นแบ่งระหว่าง ‘งานวิจารณ์’ กับ ‘การริวิว’ ภาพยนตร์ที่หลายครั้งเหลื่อมทับกันในหลายๆ ความหมาย ไปจนถึงการสปอยล์ที่ดูเป็นเรื่องใหญ่โต แต่แท้จริงแล้ว มันสมควรจะต้องเป็นเรื่องคอขาดบาดตายขนาดนั้นเลยหรือ

ประวิทย์ แต่งอักษร

19 Feb 2024

Science & Innovation

18 Feb 2024

ChatGPT ทำอะไรได้บ้างและมีจุดอ่อนตรงไหน?: สิ่งที่ต้องรู้ก่อนปรับตัวรับมือ

ตะวัน มานะกุล ชวนทำความเข้าใจลักษณะการทำงาน ความสามารถ และจุดอ่อนของ ChatGPT อันเป็นเรื่องสำคัญต่อการเรียนรู้เพื่อรับมือ

ตะวัน มานะกุล

18 Feb 2024

Phenomenon

16 Feb 2024

Perfect Days การพัฒนาตนเอง และเป้าหมายของชีวิต

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนมองชีวิตและ การตั้งคำถามกับ ‘เป้าหมายของชีวิต’ แต่ละคนผ่านภาพยนตร์เรื่อง Perfect Days

โตมร ศุขปรีชา

16 Feb 2024

Life & Culture

16 Feb 2024

‘หญิงคนชั่ว บ้านทรายทอง กุหลาบแดง’ นิยายชีวิตยุคผู้นำคณะราษฎร ของ ก.สุรางคนางค์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงชีวิตและผลงานของ ก.สุรางคนางค์ นักเขียนหญิงผู้ลือนามจากนวนิยายอันแสนโด่งดัง บ้านทรายทอง

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

16 Feb 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

15 Feb 2024

นำเที่ยวป๋างควาย เวียงหนองหล่ม

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ พาเที่ยว ‘ป๋างควาย’ ที่เวียงหนองหล่ม เชียงราย ในอดีตที่มีฝูงควายตัวใหญ่นับร้อยลงเล่นน้ำให้ชมอย่างเพลินตา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

15 Feb 2024

Interviews

15 Feb 2024

CCCL Film Festival ในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์ต้องเปลี่ยน?

101 สนทนากับ บุษกร สุริยสาร และนคร ไชยศรี จาก CCCL Film Festival ถึงแนวคิด เป้าหมาย และบทบาทของเทศกาลภาพยนตร์ที่สื่อสารประเด็นเฉพาะอย่าง climate change ว่าในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์มีที่ทางอย่างไร

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

15 Feb 2024

Life & Culture

14 Feb 2024

“หัวใจใหญ่กว่าตับ” ทองพูน พีเค.แสนชัย และบทพิสูจน์ของนักชกที่ไม่ถูกใจ ‘ตลาดเซียนมวย’

101 สนทนากับ ‘ทองพูน’ นักมวยดาวรุ่งที่แจ้งเกิดจากเวที ONE Championship และเส้นทางการต่อสู้ที่เคยเกือบทำให้เขาถอดใจจากมวยไทยเพราะไม่เป็นที่ถูกใจตลาดเซียนพนัน

พิมพ์ชนก พุกสุข

14 Feb 2024

ของบ่เล่ารู้ลืม

13 Feb 2024

บ้าน เมือง เวียง เชียง แช่ : ความหมายของชื่อชุมชนในล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนค้นหาความหมายของชื่อชุมชนในภาคเหนือ ซึ่งมักประกอบด้วยคำว่า บ้าน เมือง เวียง เชียง แช่ ซึ่งมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน

พริษฐ์ ชิวารักษ์

13 Feb 2024

Books

13 Feb 2024

30 ปี ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ : ความขำขันบนความหงุดหงิดจากหนังสือ สู่ราชันย์เดี่ยวไมโครโฟน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ ผลงานเขียนชิ้นแรกของ โน้ต-อุดม แต้พานิช ซึ่งเป็นงานเขียนสไตล์จิกกัดที่สะท้อนยุคสมัยแห่งความน่ารำคาญของชนชั้นกลางไทยในทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Feb 2024

Thai Politics

12 Feb 2024

คำถามสุดท้ายของคัทลิน: ชีวิตของความชรา บ้าน และความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คำถามสุดท้ายของคัทลิน’ รวมเรื่องสั้นของ สุกัญญา หาญตระกูล นักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดังในช่วงทศวรรษ 2520 โดยเฉพาะงานวรรณกรรมสกุลเพื่อชีวิต โดยงานรวมเรื่องสั้นที่มีอายุร่วมสี่ทศวรรษของสุกัญญาเรื่องนี้ ยังทรงพลังทั้งในแง่การเลือกใช้ถ้อยคำ, โครงสร้างของเรื่อง และประเด็นอันร่วมสมัยซึ่งว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่น

อาทิตย์ ศรีจันทร์

12 Feb 2024
1 5 6 7 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save