fbpx

Life & Culture

29 Nov 2021

DRIVE MY CAR สารถีอิตถี บนวิถียานบุรุษวินเทจ

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Drive My Car ของผู้กำกับ เรียวสุเกะ ฮามากูชิ ภาพยนตร์ที่ดัดแปลงมาจากเรื่องสั้นของ ฮารูกิ มูราคามิ และได้รับรางวัลบทยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์

‘กัลปพฤกษ์’

29 Nov 2021

Life & Culture

29 Nov 2021

อ่านศาสนากับการเมือง: อำนาจ ศักดินา และเกมความเชื่อ กับ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

คุยกับคมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง ว่าด้วยอำนาจและศักดินาที่อยู่ในศาสนา ไปจนถึงการย้อนมองและวิพากษ์วิจารณ์ศาสนากับรัฐไทย

กองบรรณาธิการ

29 Nov 2021

Politics

29 Nov 2021

ภาพอนาคตในปัจจุบันและภาพปัจจุบันในอนาคตของประเทศไทยใน “สุสานสยาม”

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง สุสานสยาม ของปราปต์ วรรณกรรมดิสโทเปียที่เสนอปัญหา วิพากษ์ สะท้อน และเสียดสีสังคมไทย ผ่านเรื่องราวในพื้นที่สมมติ ‘โรงงานขยะสยามอลังการ’ ที่เมื่ออ่านแล้วต้องย้อนคิดกันอีกครั้งว่าตกลงแล้วคือเรื่องจริงหรือเรื่องแต่งกันแน่ เพราะเรื่องราวช่างคล้ายกับสังคมไทยตอนนี้เสียเหลือเกิน!

อาทิตย์ ศรีจันทร์

29 Nov 2021

Life & Culture

25 Nov 2021

อินเดีย – ปากีสถาน : จากการรบในสงคราม สู่การรบบนสนามคริกเกต

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงสงครามตัวแทนของอินเดีย-ปากีสถาน บนสนามคริกเกต

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

25 Nov 2021

Life & Culture

25 Nov 2021

เมื่อ “อีสาน” กลายเป็น “บาหลีแห่งประเทศสยาม” ปลายทศวรรษ 2470

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงเรื่องราว ที่มาที่ไป เมื่อครั้งหนึ่ง อีสานเคยถูกเปรียบเหมือนบาหลีแห่งสยาม

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

25 Nov 2021

Life & Culture

23 Nov 2021

อ่านโทรเลข ‘เซียวฮุดเสง’ ถึง ‘ในหลวงรัชกาลที่ 7’ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติชีวิตของ ‘เซียวฮุดเสง’ นักหนังสือพิมพ์ชาวจีนผู้นิยมประชาธิปไตย พร้อมเปิดโทรเลขที่เขาส่งถึงในหลวงรัชกาลที่ 7 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

23 Nov 2021

Economy

23 Nov 2021

ปัญหาชิปขาดตลาด ผลสะเทือนต่อภูมิรัฐศาสตร์โลก

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ วิเคราะห์ปัญหาชิปขาดตลาด ที่ปัจจุบันพัฒนาเป็นสงครามชิประหว่างชาติมหาอำนาจ อะไรคือต้นสายปลายเหตุของการขาดแคลนชิปทั่วโลกในครั้งนี้ ตลอดจนร่วมมองอนาคตของอุตสาหกรรมผลิตชิป เมื่อสหรัฐฯ ตัดสินใจดึงโรงงานผลิตชิปกลับแผ่นดินอเมริกา

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

23 Nov 2021

Life & Culture

19 Nov 2021

โรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดภัยสำหรับผู้มีความหลากหลายทางเพศหรือเปล่า? คุยกับ ‘ครูดา’ – รออีด๊ะ หะสะเมาะ

101 พาคุณสำรวจมิติความหลากหลายทางเพศในสิ่งแวดล้อมการศึกษา ผ่านสายตาของ ครูดา – รออีด๊ะ หะสะเมาะ ผู้มีความหลากหลายทางเพศ — ครูของนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ — มนุษย์คนหนึ่งในสังคมไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

19 Nov 2021
1 54 55 56 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save