fbpx

Life & Culture

8 Feb 2022

‘ของเคยกิน’ ไม่เหมือนเดิม!

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมอาหารที่ผูกโยง ข้องเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างลึกซึ้ง พร้อมกันนั้นก็เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงในทุกยุคทุกสมัย

นิติ ภวัครพันธุ์

8 Feb 2022

Life & Culture

8 Feb 2022

‘มนุษย์คืออะไรในเมตาเวิร์ส?’ จินตนาการโลกใหม่ในเลนส์ปรัชญาเทคโนโลยี กับ พิพัฒน์ สุยะ

101 คุยกับ ผศ.พิพัฒน์ สุยะ จากภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เกี่ยวกับโจทย์ใหม่ในชีวิตมนุษย์ เมื่อวันที่เมตาเวิร์สมาเยือน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

8 Feb 2022

Life & Culture

7 Feb 2022

ระบบสุขภาพไทยกับ ‘ความเสี่ยง’ ที่ซ่อนในความสำเร็จ

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ชวนมอง ‘6 แรงกระแทก’ ที่ส่งผลสำคัญต่อระบบสุขภาพไทย ซึ่งอาจเป็นคลื่นใต้น้ำที่นำไปสู่ปัญหา หากเรารู้ไม่เท่าทัน

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

7 Feb 2022

Life & Culture

4 Feb 2022

ธรรมชาติของมนุษย์ แรกอรุณของทุกสิ่ง ‘The Dawn of Everything: A New History of Humanity’ โดย David Graeber and David Wengrow

อั๊บ สิร นุกูลกิจ เขียนถึงหนังสือ The Dawn of Everything: A New History of Humanity โดย David Graeber and David Wengrow ซึ่งพยายามตั้งคำถามและแย้งวาทกรรมที่ผิดๆ เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์

อั๊บ สิร นุกูลกิจ

4 Feb 2022

Life & Culture

3 Feb 2022

แตงอ่อน จันดาวงศ์ : ความรักของนักสู้ซึ่งอยู่อย่างยากลำบาก

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงชีวิตของ แตงอ่อน จันดาวงศ์ ภรรยานายครอง จันดาวงศ์ ผู้กล่าวประโยคอมตะ “เผด็จการจงพินาศ ประชาธิปไตยจงเจริญ”

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Feb 2022

Life & Culture

1 Feb 2022

ระยิบทรงจำในระยับสวนอักษรของ ‘ศรีดาวเรือง’

อ่านชีวิตและความคิดของ ‘ศรีดาวเรือง’ นักเขียนที่มีผลงานโดดเด่นและสม่ำเสมอที่สุดแห่งยุคสมัย นับตั้งแต่ช่วงวรรณกรรมเพื่อชีวิตผลิดอก

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

1 Feb 2022

Life & Culture

1 Feb 2022

ฉันได้ยิน ฉันจึงเป็นฉัน (2): ปริศนาของ ‘เสียงที่ดังมาจากในหู’

คุณเคยได้ยินเสียงที่ดังออกมาจากในหูหรือเปล่า? อติเทพ ไชยสิทธิ์ ชวนไขปริศนาเสียงที่ดังจากในหูทั้งคนและสัตว์

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Feb 2022

Film & Music

1 Feb 2022

‘ตอนนี้ผมแค่ be the best version of yourself โดยไม่ต้องฝืนตัวเอง’ คุยกับ AUTTA ในวันที่ชีวิตและความคิดก้าวมาสู่ ANTLV

101 คุยกับ AUTTA หรือ กร–อัษฏกร เดชมาก แรปเปอร์วัย 22 ปีที่สร้างเสียงฮือฮาในความสามารถทางแรปและดนตรีผ่านเพลง ANTLV ให้กับวงการฮิปฮอปไทย

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

1 Feb 2022

Life & Culture

30 Jan 2022

ความตาย การมีชีวิต สภาวะจิตเภท และเมืองกับความตายใน ‘พรุ่งนี้ไม่เศร้า’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงนวนิยายเรื่อง ‘พรุ่งนี้ไม่เศร้า’ ของ นิรันดร์ รักสำราญ ที่พาสำรวจโลกแห่งความสิ้นหวังและดำมืดผ่านท่าวงท่าลีลาการเล่าเรื่องด้วยสรรพนามบุรุษที่ 2 ซึ่งต่างไปจากนักเขียนไทยสมัยใหม่คนอื่นๆ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

30 Jan 2022

Life & Culture

28 Jan 2022

‘ข้ามถนนต้องปลอดภัย’ คุยโจทย์ใหญ่ของคนเมือง กับ นพ.ธนะพงศ์ จินวงษ์

101 คุยกับ นพ.ธนะพงศ์ จินวงษ์ ผู้จัดการศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้เสียชีวิตจากการข้ามถนน และรากของปัญหาที่ฝังตัวแน่นในสังคมไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

28 Jan 2022

City

28 Jan 2022

“มีคนเสียชีวิตจากการข้ามถนนทุกวัน” ปัญหาท้องถนนไทยที่ไม่เคยคลี่คลาย

มกราคม 2565 จักษุแพทย์หญิง ซึ่งต่อมาทราบชื่อว่า #หมอกระต่าย ประสบอุบัติเหตุถูกรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ชนเสียชีวิตขณะกำลังเดินข้ามถนน กลายเป็นชนวนให้สังคมตั้งคำถามถึงความปลอดภัยของคนเดินเท้า มาตรการเข้มงวดกวดขันวินัยจราจรของผู้ขับขี่ ไปจนถึงบทลงโทษตามกฎหมายหากมีผู้ฝ่าฝืน

กองบรรณาธิการ

28 Jan 2022

Life & Culture

28 Jan 2022

ปัญญาประดิษฐ์เกิดมาทำไม? : อ่านความสำคัญของ ‘วัตถุประสงค์’ เมื่อเหตุผลการมีชีวิตอยู่ของปัญญาประดิษฐ์อาจไม่ตรงกับความคาดหวังของมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงความพยายามในการออกแบบกระบวนการฝึกสอนระบบอัตโนมัติและระบบปัญญาประดิษฐ์ที่ทำให้มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของมนุษย์ ซึ่งตอนนี้ยังต้องพัฒนาอีกมาก

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

28 Jan 2022

Life & Culture

27 Jan 2022

Read มีดสั้น: บุรุษ อิสตรี ทุนนิยม และปรัชญาปลอบใจวิญญูชนหลังโลกอุดมการณ์ล่มสลาย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ อ่าน ‘ฤทธิ์มีดสั้น’ นิยายจีนกำลังภายใน ผ่านแว่นตาสังคมการเมืองและความเป็นหญิง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

27 Jan 2022
1 50 51 52 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save