fbpx

Life & Culture

8 May 2022

‘มรณสักขีแห่งสองคอน’ กับความหวาดระแวงของรัฐไทย

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง ‘มรณสักขีแห่งสองคอน’ เหตุการณ์ที่เจ้าหน้าที่ตำรวจยิงคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกชาวไทยเจ็ดคนเสียชีวิต ที่ไม่เพียงบอกเล่าถึงความเชื่อมั่นในศาสนา หากแต่ยังสะท้อนถึงการกดทับของรัฐไทยที่มีต่อความเชื่อของประชาชนด้วย

นิติ ภวัครพันธุ์

8 May 2022

Life & Culture

5 May 2022

ฮันนาห์ อาเรนต์: เมื่ออำนาจนิยมเปิดทางให้เจ้าหน้าที่รัฐ ‘ฆ่า’ ในสภาวะไร้คิด

ปรัชญาว่าด้วยการไร้คิด (thoughtlessness) โดย ฮันนาห์ อาเรนต์ นักทฤษฎีการเมืองชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ที่เธอเห็นว่าเป็นชนวนสำคัญให้เจ้าหน้าที่นาซีกล้าสังหารหมู่ชาวยิวกว่าหกล้านคนโดยไม่รู้สึกผิด

พิมพ์ชนก พุกสุข

5 May 2022

Life & Culture

5 May 2022

ยรรยง บุญ-หลง : ออกแบบระบบขนส่ง(เพื่อ)มวลชน ในเมืองกรุงที่ไม่เหมือนใคร

101 คุยกับ ยรรยง บุญ-หลง สถาปนิกผู้ศึกษาระบบคมนาคมในกรุงเทพฯ ถึงการพัฒนาระบบขนส่ง(เพื่อ)มวลชนในเมืองที่มีโจทย์เฉพาะตัว

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

5 May 2022

Life & Culture

3 May 2022

อ่านอดีต-มองอนาคตการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย (ตอนจบ)

ตอนจบเรื่องการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย โดยสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ว่าด้วยความพยายามพัฒนารูปแบบบริการสาธารณสุข โดยชวนตั้งคำถามว่า สิ่งสำคัญคือเราเร่ิมจากถามคำถามที่ถูกต้องหรือยัง?

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

3 May 2022

Life & Culture

2 May 2022

อ่านอดีต-มองอนาคตการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย (ตอนที่ 1)

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย ที่ทำได้หลายแบบ และมีความพยายามพัฒนามาตลอด สิ่งสำคัญคือเราเร่ิมจากการถามคำถามที่ถูกต้องหรือยัง?

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

2 May 2022

Interviews

2 May 2022

‘ไปให้พ้นจากความยากจน’ บันทึกชีวิตผู้หญิงอีสานในปารีสที่ฝันถึงความเท่าเทียม

เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

วจนา วรรลยางกูร

2 May 2022

Film & Music

29 Apr 2022

Asian is rising up? ศิลปินเอเชียเติบโตในอุตสาหกรรมเพลงอเมริกาแล้ว?

จากความสำเร็จของ Milli บนเวที Coachella สุดารัตน์ พรมสีใหม่ ชวนย้อนดูพื้นที่ของการเติบโตของศิลปินเอเชียในอุตสาหกรรมเพลงอเมริกา

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

29 Apr 2022

Bangkok บางคอก

29 Apr 2022

“เราชอบคิดว่าเป็นเมืองพุทธ นโยบายเลยไม่สะท้อนความจริง” ฟังเสียงธุรกิจกลางคืนกรุงเทพฯ กับความหวังต่อผู้ว่าฯ ใหม่

101 ลงพื้นที่ถนนข้าวสาร คุยกับผู้คนในแวดวงธุรกิจกลางคืน ถึงปัญหาที่พบเจอ พร้อมเสนอแนะนโยบายสู่ผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ คนใหม่ เพื่อให้คนกลางคืนไม่ถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

29 Apr 2022

Life & Culture

28 Apr 2022

‘กึ่งศตวรรษ วัฒน์ วรรลยางกูร ในสายธารวรรณกรรมไทย’ ชายผู้เขียนหนังสือทั้งชีวิต – ด้วยชีวิต

บทสรุปงานเสวนา ‘กึ่งศตวรรษ วัฒน์ วรรลยางกูร ในสายธารวรรณกรรมไทย’ ในวาระการจากไปของวัฒน์ วรรลยางกูร นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ร่วมเสวนาโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี, วาด รวี และ ไอดา อรุณวงศ์

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Apr 2022

Life & Culture

28 Apr 2022

“จะทำให้กรุงเทพฯ เล็กลงอย่างไร?” คำถามที่ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. ยังไม่ได้ตอบ

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงสถิติที่น่าสนใจของกรุงเทพฯ ทั้งเรื่องผู้ว่าฯ และงบประมาณ ซึ่งสะท้อนว่ากรุงเทพฯ นั้น ‘มี’ และ ‘ใช้’ ทรัพยากรของประเทศไปมากขนาดไหน

ณัฐกร วิทิตานนท์

28 Apr 2022

Life & Culture

27 Apr 2022

เวทมนตร์ของฮีโร่ผ้าขาวม้า: จาก ‘วจนา’ ถึง ‘วัฒน์ วรรลยางกูร’

วจนา วรรลยางกูร ลูกของวัฒน์ วรรลยางกูร เขียนรำลึกถึงพ่อในวาระการจากไปของนักเขียนรางวัลศรีบูรพา

วจนา วรรลยางกูร

27 Apr 2022

Life & Culture

27 Apr 2022

โรงเรียนสวนหลวง: โรงเรียนที่ถูกลืมในหน้าประวัติศาสตร์พื้นที่จุฬาฯ

ในอดีตชุมชนสวนหลวง-สามย่าน เคยมีโรงเรียนประถมที่คนในชุมชนส่งลูกไปเรียน แต่จากการพัฒนาพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้โรงเรียนอายุ 74 ปีถูกยุบและแทนที่ด้วยตึกที่พักอาศัย

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

27 Apr 2022

Life & Culture

27 Apr 2022

ฉากชีวิตแห่งอุดมการณ์ของ วัฒน์ วรรลยางกูร

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวิตของ วัฒน์ วรรลยางกูร นักเขียนคนสำคัญของวงการวรรณกรรมไทยและนักสู้ผู้หนักแน่นในอุดมการณ์

กษิดิศ อนันทนาธร

27 Apr 2022

Life & Culture

26 Apr 2022

101 Gaze Ep.7 “Animals are city people too” สร้างเมืองน่าอยู่ (ให้) สัตว์

101 Gaze ชวนคุณไปส่องสัตว์ในเมืองกรุง ไขข้อข้องใจว่าทำไมเราต้องมีความหลากหลายภายในเมือง และวิธีออกแบบเมืองให้น่าอยู่ (สำหรับ) สัตว์

กองบรรณาธิการ

26 Apr 2022

Life & Culture

25 Apr 2022

ปรากฏการณ์ ‘ข้าวเหนียวมะม่วง’: ซอฟต์พาวเวอร์กับการตอบโต้อำนาจสถาปนา

กระแสข้าวเหนียวมะม่วงของมิลลินอกจากเป็นการฉายภาพความหวังถึงการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ไทยแล้ว ยังแสดงให้เห็นการต่อต้านวัฒนธรรมที่ถูกสร้างขึ้นจากมุมมองของรัฐ และสร้างพื้นที่การนำเสนอวัฒนธรรมผ่านมุมมองของประชาชน

มัธธาณะ รอดยิ้ม

25 Apr 2022
1 45 46 47 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save