fbpx

Bangkok บางคอก

20 May 2022

รถติด, รถไฟฟ้าแพง, น้ำท่วม, PM2.5 – ส่องวิสัยทัศน์ผู้สมัครผู้ว่าฯ กับปัญหาคลาสสิกของคนกรุง

สู่ช่วงโค้งสุดท้ายเลือกตั้งผู้ว่าฯ 101 ชวนย้อนดูวิสัยทัศน์ 5 ผู้สมัคร ต่อปัญหาคลาสสิกของคนกรุงเทพฯ ทั้งรถติด รถไฟฟ้าแพง น้ำท่วม และฝุ่น PM2.5

กองบรรณาธิการ

20 May 2022

Life & Culture

19 May 2022

เยอรมนี-อังกฤษ: ศักดิ์ศรีจากสงครามที่ตามมาชำระกันในสนามฟุตบอล

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงคู่ปรับมหาอำนาจอย่าง ‘อังกฤษ-เยอรมนี’

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

19 May 2022

Life & Culture

19 May 2022

อยู่เองได้ โตเองเป็น ตอนที่ 1

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงหนังสือ ‘อยู่เองได้ โตเองเป็น’ และชวนคิดถึงการเลี้ยงลูกให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 May 2022

Lifestyle

18 May 2022

ว่าด้วยดราม่า ‘เดรสโค้ด’ ในงานประชุมวิชาการ และการแบ่ง ‘ขนมของกลาง’ ในที่ทำงาน

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วยดราม่า ‘เดรสโค้ด’ ในงานประชุมวิชาการของไทย และการแบ่ง ‘ขนมของกลาง’ ที่เราซื้อไว้ในที่ทำงาน

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

18 May 2022

Life & Culture

18 May 2022

แปลการเมืองไทย: อภิรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี รีวิวหนังสือ Thai Politics in Translation: Monarchy, Democracy and the Supra-constitution รวมงานเขียนของปัญญาชนร่วมสมัยที่อธิบายการเมืองไทยในหลายมิติ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

18 May 2022

Life & Culture

18 May 2022

เหล้ายา บาร์ สาวเปลือย มรดกรักจากสหรัฐฯ ถึงพัทยา

ภายหลังสงครามเวียดนาม สหรัฐฯ ส่งกองทัพอเมริกันมาลงพื้นที่เตรียมทำสงครามในอุษาคเนย์ การสร้างฐานบินอู่ตะเภาขยับขยายหลายชีวิตของนายทหารอเมริกันให้เข้ามายังเมืองพัทยา และเปลี่ยนโฉมหน้าเมืองเป็น ‘อเมริกันทาวน์’ กับภาพจำของเมืองที่ไม่เคยหลับใหลด้วยเหล้าและผู้หญิงจนถึงปัจจุบัน

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 May 2022

Life & Culture

16 May 2022

จาก ‘ไดร์ฟเวอร์’ สู่ ‘ไรเดอร์’ กับการเมืองเรื่อง (บน) ท้องถนน – ตั้งคำถามเรื่องทุนนิยม กับ เคลาดิโอ โซปรานเซ็ตติ

อ่านความสัมพันธ์-ขัดแย้งของวินมอไซค์กับไรเดอร์ และสิ่งที่ไรเดอร์ต้องเผชิญในการทำงานกับแพลตฟอร์ม ผ่านงานวิจัยของโซปรานเซ็ตติ

กองบรรณาธิการ

16 May 2022

Life & Culture

12 May 2022

ชีวิต ‘สายมู’ : การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในยุคเศรษฐกิจ ‘ความเร็วสูง’

ณีรนุช แมลงภู่ เขียนถึงกระแสบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของคนไทย ในยุค ‘เศรษฐกิจความเร็วสูง’ ที่ความไม่แน่นอนคือความแน่นอน

ณีรนุช แมลงภู่

12 May 2022

Science & Innovation

12 May 2022

มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่จะเปรียบเทียบกันไปถึงไหน?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงวิทยาศาสตร์ของการเปรียบเทียบ เมื่อมนุษย์ใช้การเปรียบเทียบเป็น ‘ไม้บรรทัด’ เพื่อวัดความก้าวหน้าของตัวเอง

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 May 2022

Bangkok บางคอก

11 May 2022

‘อย่าให้แหล่งเรียนรู้มีสถานะสูงกว่าคนใช้บริการ’ สร้างกรุงเทพฯ สู่มหานครแห่งการเรียนรู้ กับ โตมร ศุขปรีชา

101 คุยกับโตมร ศุขปรีชา ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ฯ OKMD ถึงโจทย์ของแหล่งเรียนรู้ในกรุงเทพฯ เพื่อสร้างจักรวาลความรู้ให้ตอบโจทย์กับคน

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

11 May 2022

Life & Culture

10 May 2022

กาลครั้งหนึ่งบนดวงจันทร์ Apollo 10 1/2 : A Space Age Adventure

‘นรา’ รีวิวอนิเมชัน Apollo 10 1/2 A Space Age Adventure ผลงานของริชาร์ด ลิงค์เลเทอร์ เล่าภารกิจเหยียบดวงจันทร์ของยานอพอลโลและสังคมอเมริกาปลายทศวรรษ 1960 ผ่านสายตาเด็กๆ

นรา

10 May 2022

Interviews

9 May 2022

อนุชิต เจริญศรีสมจิตร: 19 ปีแฟนพันธุ์แท้กรุงเทพฯ อะไรเปลี่ยนไปและอะไรยังคงเดิม

19 ปีให้หลังจากคว้าแชมป์รายการ ‘แฟนพันธุ์แท้ ตอน กรุงเทพมหานคร’ 101 ชวน อนุชิต เจริญศรีสมจิตร กลับมาพูดคุยเกี่ยวกับกรุงเทพฯ ที่เขารู้จักเป็นอย่างดีจนได้ชื่อว่าทะลุปรุโปร่งมากที่สุดในประเทศ ว่าสองทศวรรษที่ผ่านมานั้น เมืองหลวงแห่งนี้มีอะไรที่เปลี่ยนไป อะไรยังเหมือนเดิม และแฟนพันธุ์แท้อย่างเขามองการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่จะมาถึงนี้ว่าอย่างไรบ้าง

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 May 2022

City

9 May 2022

‘มอเตอร์ไซค์’ เส้นเลือดเลี้ยงชีวิตกรุงเทพฯ ที่ถูกมองข้าม: 3 ข้อเสนอนโยบายเพื่อผู้ขับขี่

101 PUB ชวนทำความเข้าใจความสำคัญของมอเตอร์ไซค์ต่อกรุงเทพฯ สำรวจปัญหาของผู้ขับขี่ และเสนอแนวนโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีสิทธิบนท้องถนนเสมอหน้ากับผู้ใช้ถนนกลุ่มอื่นมากขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

9 May 2022

Social Issues

9 May 2022

หลากรสชีวิตไรเดอร์: ‘เสี่ยง-ไม่แน่นอน’ อิสระบนข้อเสนอที่ปฏิเสธไม่ได้

การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์ ชวนสำรวจสภาพการทำงานของเหล่า ‘ไรเดอร์’ บนวิธีคิดเรื่องการทำงานที่อิสระและยืดหยุ่น แต่ในความเป็นจริงกลับเต็มไปด้วยข้อเสนอที่ปฏิเสธไม่ได้ อันทำให้ชีวิตพวกเขาเต็มไปด้วยความไม่แน่นอนและความเสี่ยง

การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์

9 May 2022

Life & Culture

8 May 2022

‘มรณสักขีแห่งสองคอน’ กับความหวาดระแวงของรัฐไทย

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง ‘มรณสักขีแห่งสองคอน’ เหตุการณ์ที่เจ้าหน้าที่ตำรวจยิงคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกชาวไทยเจ็ดคนเสียชีวิต ที่ไม่เพียงบอกเล่าถึงความเชื่อมั่นในศาสนา หากแต่ยังสะท้อนถึงการกดทับของรัฐไทยที่มีต่อความเชื่อของประชาชนด้วย

นิติ ภวัครพันธุ์

8 May 2022
1 44 45 46 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save