fbpx

Phenomenon

15 Mar 2024

เมื่อเรามีเพื่อนน้อยลง : ปรากฏการณ์ ‘ไม่มีเพื่อน’ ในสังคมยุคใหม่

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจที่มาของปรากฏการณ์ ‘ไม่มีเพื่อน’ ในโลกยุคใหม่ ซึ่งอาจมีสาเหตุหลักมาจากสภาพชีวิตที่ไม่เอื้อให้เกิดมิตรภาพ และบีบเค้นเราด้วยแรงขับในการเลื่อนชนชั้นทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

15 Mar 2024

Life & Culture

14 Mar 2024

หนังสือสามก๊ก ยุค ‘คนะราสดร’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของวรรณคดีจีน ‘สามก๊ก’ ในบรรณพิภพไทย นับตั้งแต่ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปฏิวัติ 2475 ถึงยุคปฏิวัติภาษาไทยโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Books

13 Mar 2024

150 ปี ‘ดรุโณวาท’ : สิ่งพิมพ์ของยุวชนชั้นนำและคำสอนของคนหนุ่มสยาม ในยุคแสวงหาอำนาจแบบอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ดรุโณวาท’ หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยคนไทยฉบับแรก ซึ่งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงของเหล่าสยามหนุ่มในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อทางอำนาจของรัชกาลที่ 5

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Mar 2024

Life & Culture

12 Mar 2024

จุดจบของคนกลั่นแกล้งครูบาศรีวิชัย

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับครูบาเจ้าศรีวิชัย และปลายทางของผู้ที่กลั่นแกล้งภิกษุผู้ถูกขนานนามว่าเป็นนักบุญแห่งล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

12 Mar 2024

Life & Culture

12 Mar 2024

ตายประชดป่าช้า American Fiction

‘นรา’ แนะนำ ‘American Fiction’ หนังรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลง ที่ชวนขบคิดถึงขนบวรรณกรรมเกี่ยวกับคนดำ ซึ่งเขียนโดยคนดำ ผ่านลีลาเล่าเรื่องอันลื่นไหล และเสียดสีอย่างสนุกเจ็บแสบ

นรา

12 Mar 2024

Science & Innovation

11 Mar 2024

มหาวิทยาลัยชั้นนำกับยุทธศาสตร์รับมือ ChatGPT ด้วยการกระจายอำนาจ: ตอบโจทย์ แต่ยังไม่พอ

ตะวัน มานะกุล ชวนมองแนวทางที่มหาวิทยาลัยแนะนำคณาจารย์ให้นำไปใช้จัดการกับการที่นักศึกษาใช้ ChatGPT ในชั้นเรียน โดยต้องมีการปรับตัวเป็นรายวิชา

ตะวัน มานะกุล

11 Mar 2024

Life & Culture

11 Mar 2024

The Zone of Interest (2023) สามัญอำมหิต

The Zone of Interest (2023) หนังที่พูดถึงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองผ่านครอบครัวชาวนาซีที่สร้างบ้านไว้ติดค่ายมรณะ และมันได้กลายเป็นหนังที่ชำแหละให้เห็นความอัปลักษณ์ของมนุษย์กับสงครามอย่างสมบูรณ์แบบ

พิมพ์ชนก พุกสุข

11 Mar 2024

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Politics

8 Mar 2024

นโยบาย ‘บัตรประชาชนใบเดียวรักษาทุกที่’ ทำอย่างไรให้ win-win ทุกฝ่าย

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ชวนทำความเข้าใจและประเมิน ‘โอกาส’ และ ‘ความเสี่ยง’ ของนโยบายบัตรประชาชนใบเดียวรักษาได้ทุกที่

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

8 Mar 2024

Life & Culture

7 Mar 2024

9 เรื่อง 9 ทศวรรษ สุดา พนมยงค์ : ชีวิตระหว่างบรรทัดของประวัติศาสตร์การเมืองไทย

กษิดิศ อนันทนาธร เล่า 9 เรื่องราวชีวิตของ ‘สุดา พนมยงค์’ บุตรสาวของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 90 ปี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา

กษิดิศ อนันทนาธร

7 Mar 2024

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

6 Mar 2024

โทยามะ: เมืองกระชับที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงเมืองโทยามะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งออกแบบเมืองให้เหมาะสมแก่ผู้สูงวัยที่สะท้อนถึงความเข้มแข็งของการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

6 Mar 2024

Law

6 Mar 2024

บทบาทของเนติบัณฑิตหญิงคนแรกในการจัดทำกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ของไทย

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนมองบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ในการยกร่างกฎหมายครอบครัว ท่ามกลางบรรยากาศที่กระบวนการร่างกฎหมายอยู่ในมือของผู้ชายเป็นส่วนใหญ่

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์

6 Mar 2024

Science & Innovation

6 Mar 2024

‘ผิดเราเป็นครู ผิดเขาเป็นครูใหญ่’ มนุษย์เรียนรู้จากความผิดพลาดได้จริงไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ว่ามนุษย์เรียนรู้จากความผิดพลาดได้จริงหรือไม่ และทำไมหลายคนยังทำผิดซ้ำๆ ในเรื่องเดิมๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์

6 Mar 2024

ข้างสนาม

4 Mar 2024

ทำไมคำว่า ‘Love’ อาจไม่ได้หมายความว่ารักในกีฬาเทนนิส

คอลัมน์ใหม่ ‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรม สังคม และการเมืองผ่านกีฬาต่างๆ ประเดิมตอนแรกด้วยเรื่อง ทำไมคำว่า ‘Love’ อาจไม่ได้หมายความว่ารักในกีฬาเทนนิส และการนับสกอร์สุดแสน ‘ประหลาด’

เจนอักษร ธนวรสกุล

4 Mar 2024
1 3 4 5 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save