fbpx

Interviews

22 Aug 2022

วนะ วรรลยางกูร และการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์ของชนชั้นนำ

สนทนากับ วนะ วรรลยางกูร ศิลปินผู้สะบัดฝีแปรงเล่าเรื่องการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์กระแสหลักในไทย และสังคมที่ถูกโฆษณาชวนเชื่อมอมเมาจนเราเฉยชากับการที่มีคนตายกลางเมือง ผ่านน้ำเสียงขึ้งเครียดและกราดเกรี้ยว

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Aug 2022

Life & Culture

22 Aug 2022

ไทยซบพม่า : แหวกหัวใจคู่พระนางสังเวยชาตินิยม ใน ‘เลือดสุพรรณ’ ละครเพลงยุคปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘เลือดสุพรรณ’ บทละครเวทีของหลวงวิจิตรวาทการ บทประพันธ์ที่ไม่ได้ทำให้พม่ากับไทยเป็นศัตรูคู่อาฆาตแบบขาว-ดำอย่างที่เราคุ้นชิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

22 Aug 2022

Life & Culture

17 Aug 2022

‘ฝ่าละออง’ ความทรงจำและประวัติศาสตร์ในวรรณกรรมการเมืองของจิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์

101 คุยกับจิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์ นักเขียนและศิลปิน เจ้าของวรรณกรรมการเมืองผู้ต้องการสะท้อนปัญหาสังคมไทยผ่านศิลปะที่หยอกล้อความเชื่ออนุรักษ์นิยม

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

17 Aug 2022

Life & Culture

15 Aug 2022

Truffle Trouble: ปัญหาเห็ดๆ

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ปัญหาเห็ดๆ ของ ‘เห็ดทรัฟเฟิล’ ที่นำไปสู่สารพัดเรื่องวุ่นในวงการอาหาร

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

15 Aug 2022

Science & Innovation

15 Aug 2022

‘ชั่วเจ็ดที กว่าจะดีสักหน’ ทำไมคนเราจำเรื่องแย่ๆ ได้ดีกว่าเรื่องอื่น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงคำอธิบายทางจิตวิทยาของความคิดเชิงลบในมนุษย์ ที่มีต้นกำเนิดมาจากสัญชาตญาณการเอาตัวรอดในยุคหิน แต่ยังคงส่งผลต่อคนในยุคปัจจุบัน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Aug 2022

Life & Culture

12 Aug 2022

ข้อคิดจากสมเด็จฯ : 90 พรรษา สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติและพระจริยวัตรของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เนื่องในโอกาสมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา

กษิดิศ อนันทนาธร

12 Aug 2022

Life & Culture

10 Aug 2022

สงครามเย็นบนปลายลิ้น ความรุนแรงที่กลืนกินได้

ท่ามกลางความคุกรุ่นและความขัดแย้ง สงครามจะสร้างอาหารแบบใดขึ้นมาบ้าง นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจเมนูอาหารต่างๆ ที่ถือกำเนิดขึ้นมาภายใต้บริบทสงครมเย็นระหว่างสหรัฐฯ และเวียดนาม ที่ในเวลาต่อมาก็กลายเป็นอาหารที่หลายคนรู้จักกันดีและแสนจะคุ้นเคย

นิติ ภวัครพันธุ์

10 Aug 2022

Life & Culture

9 Aug 2022

เกาะเสม็ดและราคาของเรื่องเล่า

คอลัมน์ Sideway ตอนแรกว่าด้วยเรื่องราวของคนบนเกาะเสม็ดและค่ำคืนแห่งเกม เมื่อการตามรอยน้ำมันรั่วระยองนำทางไปสู่เรื่องราวใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดไว้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

9 Aug 2022

Life & Culture

9 Aug 2022

เตรียมตัวโบกมือลาโซเชียลมีเดียแบบที่เราคุ้นเคย

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงของโซเชียลมีเดียหลายเจ้า ที่อาจเปลี่ยนไปใช้แบบ recommendation media มากขึ้น ตามรอย TikTok ที่ประสบความสำเร็จมาแล้ว

โสภณ ศุภมั่งมี

9 Aug 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

‘บุพเพสันนิวาส 2’ นอสตัลเจียแสนหวานเคลือบอุดมการณ์ราชาชาตินิยม (^o^)

มองภาพยนตร์ ‘บุพเพสันนิวาส 2’ (2022) ผ่านเลนส์สังคมและการเมือง เมื่อดูเหมือนว่าภายใต้เรื่องราวสดใสและอ่อนหวานนั้น คือการสอดรับอุดมการณ์ราชาชาตินิยมและส่งต่อไปยังศตวรรษที่ 21

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Aug 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

เมืองกับภาพยนตร์

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงเรื่องหนังกับเมือง เมื่อภาพยนตร์สามารถสร้างชีวิตและภาพให้เมือง และกลายเป็นจุดดึงดูดการท่องเที่ยวได้อย่างน่าสนใจ

ณัฐกร วิทิตานนท์

8 Aug 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

Trolley problem #2: ‘ฆ่า’ กับ ‘ปล่อยให้ตาย’ – ทางเลือกที่ดูเหมือนจะมีคำตอบทางจริยศาสตร์

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง หลักที่ให้คำตอบที่ถูกต้องใน ‘Trolley problem’ หรือ ‘ปัญหารถราง’ ของ Phililipa Foot ว่า ‘การทำร้าย’ ใครสักคนนั้นผิดเสมอ ในขณะที่ ‘การปล่อยภัยร้ายให้ดำเนินไป’ โดยไม่เข้าไปช่วยเหลือนั้นผิดน้อยกว่า และอีกโจทย์ปัญหารถรางที่คำตอบของ Foot ตอบไม่ได้

ตะวัน มานะกุล

8 Aug 2022

Life & Culture

7 Aug 2022

โชคชะตา ‘ท่าพระจันทร์’ : ในวันที่แสงแห่งความหวังส่องถึงแค่หมอดูออนไลน์

สำรวจหมอดูที่ท่าพระจันทร์ ในวันที่คนหันไปดูดวงออนไลน์กันเยอะขึ้น หมอดูออนไซต์อยู่กันอย่างไร และอนาคตวงการหมอดูจะเดินไปทางไหน

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

7 Aug 2022

Film & Music

5 Aug 2022

ราคาตั๋วหนังยัง ‘ไม่แพง’ ? เมื่อค่าตั๋วหนังในไทยสวนทางกับรายได้คนส่วนใหญ่ในประเทศ

ปัจจุบันราคาตั๋วหนังของโรงมัลติเพล็กซ์ตกอยู่ที่ 120-260 บาท ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์จากผู้ชมว่าอาจเป็นราคาที่ ‘แพงเกินไป’ สำหรับคนกลุ่มใหญ่ของประเทศ หรืออันที่จริง เรายังอยากดูหนังนอกบ้านและหนังในโรงภาพยนตร์กันอยู่ เพียงแต่สู้ราคาไม่ไหว

เมธิชัย เตียวนะ

5 Aug 2022
1 38 39 40 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save