fbpx

Life & Culture

7 Nov 2022

เป้าหมายแรกของทวิตเตอร์ภายใต้อีลอน มัสก์ คือ ‘การสร้างรายได้’

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงทิศทางของทวิตเตอร์ หลังจากอีลอน มัสก์เข้ากุมบังเหียน เมื่อมีโจทย์ทางธุรกิจยากๆ รออยู่

โสภณ ศุภมั่งมี

7 Nov 2022

Bite-Sized Clip

4 Nov 2022

ทำความเข้าใจสุราเสรี เมื่อ ‘กฎกระทรวงผลิตสุราใหม่’ ไม่ใช่ ‘สุราก้าวหน้า’

กว่าระยะเวลา 2 เดือนเมื่อร่าง พ.ร.บ. สุราก้าวหน้าผ่านวาระแรกมาแล้ว และก้าวเข้าสู่การประชุมวาระ 2 และ 3 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายนที่ผ่านมา แต่ก่อนเข้าสู่สภาเพียง 1 วัน รัฐบาลประกาศแก้ไขกฎกระทรวงผลิตสุราใหม่ จนเกิดข้อถกเถียงตั้งแต่ข้อกฎหมายไปจนถึงว่านี่คือการเคลื่อนไหวในทางการเมืองของฟากฝั่งรัฐบาลหรือไม่? 101 พูดคุยกับ ผศ.ดร.เจริญ เจริญชัย อาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากกลุ่ม surathai เพื่อหาคำตอบภายใต้สิ่งเจือปนในกฎกระทรวงครั้งนี้

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

4 Nov 2022

Books

3 Nov 2022

แลไปข้างหลัง มองพลังการเปลี่ยนแปลงสังคม ผ่าน ‘แลไปข้างหน้า’

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงนวนิยาย ‘แลไปข้างหน้า’ ของศรีบูรพา ที่สะท้อนภาพสังคมไทยปลายสมัยรัชกาลที่ 7 และเมื่อเกิดการอภิวัฒน์ 2475 แต่ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการเมืองปัจจุบันได้อย่างดี

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Nov 2022

Life & Culture

2 Nov 2022

คงเดช จาตุรันต์รัศมี 19 ปีของหนังที่ทำให้เขาเศร้าและผู้คนที่ทำให้เขารัก 

คงเดช จาตุรันต์รัศมี มักปฏิเสธว่าหนังของเขาไม่ใช่หนังการเมือง แต่เป็นหนังที่ว่าด้วยคนตัวเล็กตัวน้อยที่ต้องใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจากการเมือง เรื่องของคนขับแท็กซี่แสนเหงา, เรื่องของเด็กสาวที่อยากออกนอกประเทศ เรื่อยมาจนมนุษย์กวางนักล่าสังหารตัวตนคนรุ่นใหม่

101 สนทนากับคงเดช ไล่เรียงตั้งแต่หนังเรื่องแรก การพลิกผันจากการทำหนังสตูดิโอมาเป็นหนังอิสระ และความไม่เปลี่ยนแปลงของไทยหลังการรัฐประหาร 2549

พิมพ์ชนก พุกสุข

2 Nov 2022

Thai Politics

2 Nov 2022

“เขาหาว่าแม่ฉันเป็นผู้หญิงหากิน” การแจ้งเกิดของวัฒน์ วรรลยางกูรในนิตยสารยานเกราะ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

2 Nov 2022

Life & Culture

1 Nov 2022

TRIANGLE OF SADNESS เศรษฐศาสตร์ชั้นไฮคลาส จากเรือสวาทสู่หาดสวรรค์

Triangle of Sadness (2022) ผลงานลำดับล่าสุดของ รูเบน ออสต์ลุนด์ ที่คว้ารางวัลปาล์มทองคำจากเทศกาลหนังเมืองคานส์ ที่ ‘กัลปพฤกษ์’ หยิบเอาแง่มุมเสียดสีสังคมแห่งชนชั้นในหนังมาวิเคราะห์วิจารณ์อย่างแสบสันต์ไม่แพ้กัน

‘กัลปพฤกษ์’

1 Nov 2022

Life & Culture

1 Nov 2022

ทำไม AI ส่วนใหญ่จึงล้มเหลว: กลไกการสร้างมูลค่าธุรกิจด้วย AI

อัครพัชร์ เจริญพานิช ชวนอ่านงานวิจัยว่าด้วยคำถามที่ว่าทำไมโปรเจ็กต์ AI ส่วนใหญ่ถึงล้มเหลว เมื่อบริษัทนำไปใช้?

อัครพัชร์ เจริญพานิช

1 Nov 2022

Life & Culture

31 Oct 2022

เมื่อคนแต่งตัวเป็น เจฟฟรีย์ ดาห์เมอร์ รับฮัลโลวีน: เส้นแบ่งบางๆ ระหว่างการเล่าถึงความอำมหิตกับการยกย่องอาชญากร

หลังซีรีส์ว่าด้วยฆาตกรต่อเนื่อง Monster: The Jeffrey Dahmer Story (2022) ประสบความสำเร็จสุดขีด จนมีคนอยากแต่งตัวเป็น เจฟฟรีย์ ดาห์เมอร์ รับฮัลโลวีน (จนเว็บไซต์อีเบย์ต้องแบนไม่ขายเสื้อผ้าบางส่วนที่เหมือนดาห์เมอร์ใส่) ปรากฏการณ์นี้มันคืออะไร ทำไมคนถึงได้อยากแต่งตัวแบบฆาตกรต่อเนื่องกันล่ะ

พิมพ์ชนก พุกสุข

31 Oct 2022

Life & Culture

28 Oct 2022

แก่ให้ช้า เจ็บให้สั้น ตายให้ไว: นิยามใหม่ของคุณภาพชีวิตที่ดี

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความหมายของคุณภาพชีวิตที่ดีที่เปลี่ยนไปในยุคสมัยที่โลกกำลังเข้าสู่สังคมสูงวัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

28 Oct 2022

Life & Culture

27 Oct 2022

TikTok ขึ้นแท่นราชาโซเชียลมีเดียคนใหม่ แล้วยังไงต่อดีล่ะทีนี้?

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงกระแสติ๊กต็อกที่มาแรง จนทำให้มีคำกล่าวที่ว่าตอนนี้ขึ้นแท่นเป็นราชาแห่งโซเชียลมีเดียเรียบร้อย

โสภณ ศุภมั่งมี

27 Oct 2022

Life & Culture

26 Oct 2022

บ้านผีปอบ: หนังผีลูกผสม ภาพชนบทและเรือนกายสตรีช่วงทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์เขียนถึง ‘บ้านผีปอบ’ หนังผียอดนิยมช่วงปี 2532-2537 ความบันเทิงนอกเขตเมืองที่สอดคล้องกับความนิยมของหนังกลางแปลง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

26 Oct 2022

Life & Culture

26 Oct 2022

วิถีคนกล้า I Know Why the Caged Bird Sings

‘นรา’ รีวิวหนังสือ ‘ฉันรู้ว่าไยนกในกรงจึงขับขาน’ (I Know Why the Caged Bird Sings) อัตชีวประวัติโดยมายา แอนเจลู (มาร์เกอรีต แอนน์ จอห์นสัน) นักต่อสู้ด้านสิทธิพลเมืองคนสำคัญของอเมริกา

นรา

26 Oct 2022

Life & Culture

25 Oct 2022

โบรุสเซีย ดอร์ทมุนด์ – ชาลเก 04 : การเผชิญหน้าของชนชั้นแรงงาน

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์พาไปรู้จักเรื่องราวของ ‘ดอร์ทมุนด์’ และ ‘ชาลเก 04’ สองทีมฟุตบอลในแคว้นรูห์แห่งเยอรมนี

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

25 Oct 2022

Life & Culture

24 Oct 2022

ในวันที่ 17 ของทุกเดือน ไม่ปรากฏปี : แบบฝึกหัดของการเขียนสู่ทุ่งหญ้าของวรรณกรรม

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘ในวันที่ 17 ของทุกเดือนไม่ปรากฏปี’ หนังสือรวมความเรียง 13 ชิ้นจากนิสิตวิชา ‘ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว’ ของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สะท้อนสังคมแสนสิ้นหวังผ่านสายตาคนรุ่นใหม่ และนัยหนึ่งยังสะท้อนแวดวงวรรณกรรมไทยด้วย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Oct 2022

Life & Culture

21 Oct 2022

101 In Focus Ep.151: ทำไมอาหารเหนือไม่ป็อป และล้านนาป็อป ป็อปจริงไหม?

101 ชวนอ่านชวนคุยจากสองบทความว่าด้วยเรื่องอาหารเหนือและวัฒนธรรมล้านนา ว่าทำไมอาหารเหนือไม่ป็อป และล้านนาป็อป ป็อปจริงไหม?

กองบรรณาธิการ

21 Oct 2022
1 35 36 37 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save