fbpx

Books

16 Oct 2022

ความน่าจะอ่าน 2022: ชีวิตต้องมีความหวัง วงการหนังสือก็เช่นกัน

ส่งท้ายความน่าจะอ่าน 2022 – โลกใบนี้น่ะยังไม่สิ้นความหวังหรอก! 101 สรุปประเด็นจากเสวนา ความน่าจะอ่าน 2022 Final Round

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

16 Oct 2022

Politics

14 Oct 2022

ภาพ “หลอน”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ

14 Oct 2022

Thai Politics

14 Oct 2022

ไขแสง สุกใส: ส.ส. คอมมิวนิสต์? กบฏรัฐธรรมนูญ และจุดเริ่มต้น 14 ตุลาฯ

เรื่องราวของ ไขแสง สุกใส หนึ่งในนักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 14 ตุลาฯ และการเข้าป่า

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

14 Oct 2022

Life & Culture

13 Oct 2022

สวัสดีค่ะคุณวัฒน์: จดหมายจากไอดาถึงวัฒน์ วรรลยางกูร

จดหมายจากไอดา อรุณวงศ์ บรรณาธิการคนสุดท้ายของวัฒน์ วรรลยางกูร บทพูดปิดในงานเสวนาความน่าจะอ่าน 2022 ว่าด้วย ‘ตัวละครนอกหนังสือต้องเนรเทศ’

ไอดา อรุณวงศ์

13 Oct 2022

Life & Culture

11 Oct 2022

นวราตรี 2022 ศรัทธา ความเชื่อในขบวนแห่จากวัดแขก หลัง 2 ปีแห่งความซบเซา

เทศกาลนวราตรีปีนี้ถือเป็นปีแรกที่ได้กลับมาจัดหลังหยุดเว้นระยะไป 2 ปีจากการระบาดของโควิด-19 สำหรับหลายๆ คน การได้กลับมาร่วมพิธีบูชาองค์เทพที่พวกเขาเคารพนับถือจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในแง่ของการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจหลังพวกเขาต้องเผชิญความยากลำบากของชีวิตในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

11 Oct 2022

Education

10 Oct 2022

จะเลี้ยงลูกในสังคมที่ไม่มีกฎหมายและจริยธรรมอย่างไรดี

ในวันที่โลกป่วย จะทำอย่างไรให้เด็กๆ ของเรามี ‘เอ็มพาธี’ คือความสามารถที่จะเห็นความทุกข์ของสรรพสิ่ง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

10 Oct 2022

Life & Culture

7 Oct 2022

ล้านนาป็อป แต่ไม่ป็อปอย่างที่คิดกัน: ว่าด้วยอาหาร ดนตรี และพลังทางวัฒนธรรมแบบ ‘เหนือๆ’ ในสังคมไทย

ต่อเนื่องจากบทความของวันชัยที่ตั้งคำถามว่า ‘ทำไมร้านอาหารเหนือจึงไม่ค่อยแพร่หลาย’ ภิญญพันธ์ุชวนคุยต่อว่า อาจไม่ใช่แค่อาหาร ‘เหนือ’ เท่านั้นที่ไม่ค่อยแพร่หลาย แต่เป็นวัฒนธรรมร่วมสมัยของ ‘ภาคเหนือ’ ด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

7 Oct 2022

Politics

6 Oct 2022

วีรชน 6 ตุลา : จารุพงษ์ ทองสินธุ์

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติของ จารุพงษ์ ทองสินธุ์ หนึ่งในวีรชนผู้เสียสละชีวิตตนเองเพื่อปกป้องคนอื่นในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519

กษิดิศ อนันทนาธร

6 Oct 2022

Life & Culture

5 Oct 2022

นวราตรี 2022 การกลับมาอีกครั้งของขบวนแห่ วัดแขก

เทศกาลนวราตรี (Navaratri) คือประเพณีงานแห่ขบวนประจำปีของวัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือวัดแขก มีขึ้นเพื่อแสดงความเคารพบูชาแก่พระแม่อุมาเทวี หรือพระแม่ทุรคาทั้งเก้าปาง

เมธิชัย เตียวนะ

5 Oct 2022

Lifestyle

5 Oct 2022

หล่อ/สวยกว่าได้เปรียบ?: ‘หน้าตา’ กับการสร้าง ‘ความไว้วางใจ’ ระหว่างกัน

นิชาภัทร ไม้งาม พาผู้อ่านไปทำความเข้าใจเรื่องหน้าตาของผู้คนกับความไว้วางใจ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ทางสังคม

นิชาภัทร ไม้งาม

5 Oct 2022

Kid For Kids

5 Oct 2022

คุมกัญชาเสรีอย่างไรให้ปลอดภัยกับเด็กและเยาวชนที่สุด

เมื่อการปลดล็อกกัญชาเสรีเป็นไปโดยขาดมาตรการกำกับที่รัดกุม เด็กและเยาวชนได้รับผลกระทบมากที่สุด คิด for คิดส์ ชวนสำรวจผลกระทบ ชี้ช่องโหว่ร่าง พ.ร.บ. กัญชาฯ และเสนอทางออกเชิงนโยบาย

เจณิตตา จันทวงษา

5 Oct 2022

Life & Culture

4 Oct 2022

“ไม่ใช่เพราะเก่า ศิลปะจึงงาม” ประวัติศาสตร์ศิลป์และการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ‘สันติ เล็กสุขุม’

เรื่องราวชีวิตของสันติ เล็กสุขุม ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยหนุ่มที่ไฟแห่งศิลปินยังพลุ่งพล่าน สู่การเป็นอาจารย์ และคุยถึงความรู้ที่ตกผลึกในการเรียนรู้แก่นของประวัติศาสตร์ศิลปะ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

4 Oct 2022

Lifestyle

4 Oct 2022

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยนักแสดงในหนังไม่ตรงกับวรรณกรรม และการหยุดวิ่งในสวนสาธารณะเมื่อเพลงชาติขึ้น

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วยนักแสดงในหนังไม่ตรงกับวรรณกรรม และการหยุดวิ่งในสวนสาธารณะเมื่อเพลงชาติขึ้น

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

4 Oct 2022

Life & Culture

4 Oct 2022

ทำไมร้านอาหารเหนือจึงไม่ค่อยแพร่หลาย

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงข้อสังเกตที่อาหารเหนือไม่แพร่หลายในภูมิภาคอื่นๆ เมื่อเทียบกับอาหารอีสานและอาหารใต้ที่มีร้านกระจายตัวทั่วประเทศ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

4 Oct 2022

Film & Music

3 Oct 2022

‘มายาพิศวง’ สูงส่งลงสู่ต่ำต้อย เมื่อความด้อยรสนิยมเป็นสิ่งงมงาย กับผลงานเรื่องสุดท้ายของหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังลำดับสุดท้ายในชีวิตของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล คือหนังเรื่อง มายาพิศวง ที่สะท้อนถึงความเป็นศาสตร์และศิลป์ของภาพยนตร์โดยแท้

‘กัลปพฤกษ์’

3 Oct 2022
1 34 35 36 174

MOST READ

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save