fbpx

Social Problems

3 Jul 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (37) : ออสเลอร์และจริยธรรมทางการแพทย์ ตอนที่ 3

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงชีวิตของ เซอร์วิลเลียม ออสเลอร์ บิดาแห่งแพทยศาสตร์สมัยใหม่ มาถึงตอนที่ 3 เมื่อสภาพแวดล้อมชีวิตช่วงต้นส่งผลให้ออสเลอร์เป็นแพทย์ที่มีหัวใจของมนุษย์มากที่สุดคนหนึ่ง จากอิทธิพลของธรรมชาติวิทยา เทววิทยา และวรรณคดี

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

3 Jul 2019

Film & Music

3 Jul 2019

ขอความรักบ้างได้ไหม : Rocketman

คอลัมน์ Deep Focus เดือนนี้ ‘นรา’ หยิบเอา Rocketman หนังที่ว่าด้วยชีวิตของเอลตัน จอห์น ที่ออกมาในช่วงใกล้เคียงกับ Bohemian Rhapsody แต่มีเทคนิคที่แตกต่างน่าสนใจ

นรา

3 Jul 2019

People

2 Jul 2019

สมศรี อังสุวัฒนะ: ชีวิตของผู้หญิงคนหนึ่ง บุตรี ภรรยา และมารดา

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึง สมศรี อังสุวัฒนะ บุตรีของเจ้าพระยาคนสุดท้ายของประเทศไทย ภรรยาของสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน เผดิม อังสุวัฒนะ ในฐานะผู้หญิงคนหนึ่ง บุตรี ภรรยา และมารดา

กษิดิศ อนันทนาธร

2 Jul 2019

People

28 Jun 2019

คาไว เลียวนาร์ด ผลงานที่ดังสนั่นกว่าคำพูดของชายผู้คว้ารางวัล MVP คนล่าสุด

พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึง Kawhi Leonard นักบาสเบตบอลผู้คว้าตำแหน่ง MVP คนล่าสุด ผู้มีบุคลิกเรียบง่าย ไร้ข่าวอื้อฉาว และกลายเป็นดาวดังด้วยทักษะความสามารถล้วนๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Jun 2019

Books

28 Jun 2019

[ความน่าจะอ่าน] ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยังไม่ตาย ?

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บประเด็นสำคัญในหนังสือ ‘ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ : วิวัฒนาการรัฐไทย’ พร้อมประมวลความเห็นและบทวิจารณ์จากนักอ่านและนักวิชาการ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

28 Jun 2019

Education

28 Jun 2019

เวทมนตร์ของ ‘ภูมิ’ นักพัฒนาซอฟต์แวร์วัย 17 ปี ผู้เลือกออกจากโรงเรียนและมุ่งสู่ซิลิคอนแวลลีย์

ศุภณัฐ อเนกนำวงศ์ คุยกับ ภูมิ-ภูมิปรินทร์ มะโน นักพัฒนาซอฟต์แวร์วัย 17 ปี ที่ลาออกจากโรงเรียนตอนม.4 ท่องโลกแห่งการทำงานที่โรงเรียนไม่ตอบโจทย์ และทำงานในตำแหน่ง Software Developer ที่เมืองเทคโนโลยีอย่าง Silicon Valley

กองบรรณาธิการ

28 Jun 2019

Books

27 Jun 2019

[ความน่าจะอ่าน] เบสเมนต์ มูน : เสียงหึ่งฮึมฮัมในการเปลี่ยนแปลง

ณขวัญ ศรีอรุโณทัย บรรณาธิการศิลปกรรม Way เขียนถึงนวนิยาย ‘เบสเมนต์ มูน’ ของปราบดา หยุ่น 1 ใน 5 เล่มที่ได้รับคะแนนสูงสุดใน ‘ความน่าจะอ่าน 2018-2019’

ณขวัญ ศรีอรุโณทัย

27 Jun 2019

Books

27 Jun 2019

[ความน่าจะอ่าน] มันทำร้ายเราได้แค่ไหน ?

นิธิ เอียวศรีวงศ์ เขียนถึงหนังสือ ‘มันทำร้ายเราได้แค่นี้แหละ’ ของ ภรณ์ทิพย์ มั่นคง หนังสือที่ได้รับคะแนนสูงสุดในโปรเจ็กต์ ‘ความน่าจะอ่าน 2018-2019’

นิธิ เอียวศรีวงศ์

27 Jun 2019

Art & Design

26 Jun 2019

THE AIR : ศิลปะจากการขึ้นโรงขึ้นศาล

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘THE AIR’ งานศิลปะในห้องเช่าเก่าแก่ อันมีจุดเริ่มต้นจากการที่ศิลปินต้องขึ้นโรงขึ้นศาล เพียงเพราะอยากซื้อ ‘แอร์’ ตัวใหม่มาติดในห้อง

ธนาวิ โชติประดิษฐ

26 Jun 2019

Books

26 Jun 2019

[ความน่าจะอ่าน] Sapiens กับพลังของจินตนาการ

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึงหนังสือ ‘เซเปียนส์ ประวัติย่อมนุษยชาตื’ 1 ใน 5 เล่มที่ได้รับคะแนนสูงสุดจากโปรเจ็กต์ ความน่าจะอ่าน 2018-2019 

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

26 Jun 2019

Art & Design

25 Jun 2019

รสนิยม – นิยมรสปลาแดก ของ ถนอม ชาภักดี

คุยกับ ถนอม ชาภักดี นักวิจารณ์และอาจารย์สอนศิลปะ มาคุยยาวๆ ว่าด้วยชีวิต ‘มันๆ’ ของเขา รสนิยมของบ้านนี้เมืองนี้ วัฒนธรรมประดิษฐ์ ศิลปะ และความม่วนของลูกอีสาน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Jun 2019

Books

25 Jun 2019

[ความน่าจะอ่าน] สวนสัตว์กระดาษ : มนุษย์ล้วนพ่ายแพ้ แต่ไม่แพ้พ่าย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึง ‘สวนสัตว์กระดาษ’ ซึ่งเป็น 1 ใน 5 หนังสือที่ได้รับคะแนนสูงสุดจากโปรเจ็กต์ ‘ความน่าจะอ่าน 2018-2019’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Jun 2019
1 121 122 123 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save