fbpx

Trends

6 Feb 2020

ทักษะแห่งอนาคตคือการจัดการกับความวอกแวก

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ‘ความไม่วอกแวก’ ที่อาจกลายเป็นทักษะสำคัญในโลกอนาคต เพราะโลกมีสิ่งเร้ามากมายเหลือเกิน

โตมร ศุขปรีชา

6 Feb 2020

Life & Culture

6 Feb 2020

ของกำนัลกับการเดินทางของความสัมพันธ์ทางสังคม

คอลัมน์ ‘สัมพัทธ์สัมพันธ์’ ตอนแรก ว่าด้วยการแลกเปลี่ยนวัตถุในวงแหวน “คูลา” (Kula) เหตุใด ผู้คนจึงให้ความสำคัญกับกิจกรรมแลกเปลี่ยนสิ่งของ ที่ดูเหมือนเป็นเพียงเครื่องประดับกระจุกกระจิก ไม่มีประโยชน์ใช้สอย

พรรณราย โอสถาภิรัตน์

6 Feb 2020

Thai Politics

6 Feb 2020

ราษฎร์นิพนธ์ ‘ไกลบ้าน’

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงประเด็นผู้ลี้ภัยผ่านความเชื่อมโยงของผลงานศิลปะ ‘ไกลบ้าน’ 3 แบบ ทั้งพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 5 นิทรรศการของปพนศักดิ์ ละออ และสารคดีชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูร โดยธีรพันธ์ เงาจีนานันต์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

6 Feb 2020

Issue of the Age

6 Feb 2020

“เราถูกเอาเปรียบมาตลอด” ศิวัช พงษ์เพียจันทร์: สิทธิอากาศบริสุทธิ์เป็นของประชาชน      

ณัฐชลภัณ หอมแก้ว พูดคุยกับ ศ.ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาป้องกันและจัดการภัยพิบัติ นิด้า ถึงอันตรายที่แฝงตัวอยู่ในฝุ่น PM 2.5 และการผลักดันร่างกฎหมายอากาศสะอาด

กองบรรณาธิการ

6 Feb 2020

Film & Music

5 Feb 2020

คือรักและหวัง : Better Days

คอลัมน์ Deep Focus ประจำเดือนนี้ ‘นรา’ แนะนำภาพยนตร์โรแมนติก ‘Better Days’ ที่สะท้อนปัญหาสังคมจีนหลากหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็นการกลั่นแกล้งในโรงเรียน ระบบการศึกษา ครอบครัว หรือแม้กระทั่งการค้นหาความหวังในชีวิต

นรา

5 Feb 2020

People

5 Feb 2020

ความรักของ “สาวน่าน” : หม่อมศรีพรหมา กฤดากร

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเรื่องราวความรักและชีวิตหลากสีสันของ หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ธิดาพระเจ้าน่านผู้กลายมาเป็นบุตรบุญธรรมของขุนนางสยาม หญิงผู้ปฏิเสธไมตรีจากพระปิยมหาราช และได้เสกสมรสกับหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ในรัชกาลถัดมา จนขึ้นชื่อว่าเป็นคู่รักในอุดมคติ

กษิดิศ อนันทนาธร

5 Feb 2020

Thai Politics

5 Feb 2020

สนทนาบนลานยิ้มกับ ‘นลธวัช มะชัย’ ผู้หันหลังให้ทุนปริญญา-หันหน้าสู่ละครชีวิต

คุยกับ ‘กอล์ฟ’ นลธวัช มะชัย หนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มลานยิ้มการละคร นักเรียนทุนผู้หันหลังให้ระบบการศึกษาในรั้วมหา’ลัย

ธิติ มีแต้ม

5 Feb 2020

Issue of the Age

4 Feb 2020

อ่าน ‘โรคระบาด’ ผ่านแว่นตามานุษยวิทยา กับ นิติ ภวัครพันธุ์

101 สนทนากับ นิติ ภวัครพันธุ์ ถึงโรคระบาดด้วยแว่นตามานุษยวิทยาว่าให้ความหมายของโรคระบาดว่าอย่างไร โรคระบาดเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเงื่อนไขทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองอย่างไร

กองบรรณาธิการ

4 Feb 2020

Lifestyle

4 Feb 2020

ประวัติชาติพันธุ์วรรณนาของปลาร้า: ความจำเป็นที่กลายเป็นรสแห่งวัฒนธรรม (1)

คอลัมน์ #โบราณการครัว เดือนนี้ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง #ปลาร้า การถนอมอาหารที่เกิดขึ้นกว่า 10,000 ปีในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของชาวตะวันตก

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Feb 2020

Books

4 Feb 2020

ภาวะหลอน ประวัติศาสตร์ และความทรงจำใน ‘ชายใดเล่าจะแซ่บเท่าแฟนเก่าแม่’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เปิดโลกวัฒนธรรมประชานิยมและประวัติศาสตร์การเมืองไทย ผ่านนิยายวาย ‘ชายใดเล่าจะแซ่บเท่าแฟนเก่าแม่’ ผลงานจากนักเขียนซีไรต์ จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท ในชื่อ ร เรือในมหาสมุท

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 Feb 2020

Science & Innovation

4 Feb 2020

Mental Models อัลกอริทึมแห่งความคิด

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงประโยชน์ของการสะสมวิธีคิดแบบ Mental Models เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มองปัญหาจากเลนส์อันหลากหลายจนได้แก่นแท้แห่งความจริงเพียงหนึ่งเดียว

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

4 Feb 2020

City

31 Jan 2020

สถาปัตยกรรมที่นับรวม : เมื่อมนุษย์ทุกคนต้องการที่กินข้าว

คอลัมน์ Shaped by Architecture ตอนแรกของ รชพร ชูช่วย ว่าด้วย ‘สถาปัตยกรรมที่นับรวม’ ตั้งคำถามกับอาคารที่ไม่มีพื้นที่ให้แม่บ้านทานข้าว หรือที่นั่งพักให้พนักงาน สถาปัตยกรรมจะเข้ามาช่วยตรงนี้ได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

31 Jan 2020

Education

30 Jan 2020

1 ปี Connext Klongtoey เรียนรู้จากความไม่สำเร็จและด้านไม่สวยงามของโครงการศิลปะเพื่อสังคม

Eyedropper Fill เล่าเรื่องหนึ่งปีของโครงการ Connext Klongtoey – เวิร์กชอปศิลปะที่กลุ่ม Eye On Field จัดขึ้นเป็นห้องเรียนทางเลือกสำหรับเด็กนักเรียนในสลัมคลองเตย พวกเขาเรียนรู้อะไรบ้าง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

30 Jan 2020

City

30 Jan 2020

คนไทยในอนาคตล้วนเป็นคนเมือง

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึงอนาคตของเมืองไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า เมื่อทุกหนทุกแห่งกลายเป็นเมือง มีวิถีชีวิตแบบเมือง แม้แต่ในชนบทและพื้นที่ห่างไกล

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

30 Jan 2020
1 105 106 107 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save