fbpx

Life & Culture

13 Nov 2023

ในสังคมที่กำหนดว่าอะไรคือความ ‘ปกติ’ ผิดไปจากนั้นจึง ‘ไม่ใช่’ สำรวจโลกของคนที่ต้องทนเป็นอื่นกับ โยชิยูกิ คิชิ

อะไรคือความ(ไม่)ปกติ

ในสังคมที่ขีดกรอบความปกติไว้แน่นหนา สิ่งที่ไม่อยู่ในกรอบจึงกลายเป็นความ ‘ไม่ปกติ’ ซึ่งอาจหมายความถึงตัวตนและอัตลักษณ์บางอย่าง และหนังสัญชาติญี่ปุ่น (Ab)normal Desire (2023) ก็สำรวจประเด็นนี้อย่างเข้มข้น หนักหน่วงและจริงใจ

101 ได้รับโอกาสได้สนทนากับ โยชิยูกิ คิชิ ผู้กำกับหนัง ว่าด้วยชีวิต ‘ปกติ’ นั้นคือชีวิตแบบใดแน่ และมันมีอยู่จริงหรือไม่ในโลกที่เต็มไปด้วยกฎเกณฑ์จารีต

พิมพ์ชนก พุกสุข

13 Nov 2023

Life & Culture

9 Nov 2023

แด่คนเศร้า เหงา รักและร้าวราน สี่ทศวรรษในฐานะนักแสดงของ เหลียง เฉาเหว่ย

“ที่ผ่านมา ผมคาดหวังมาตลอดว่าจะเป็นนักแสดงที่เก่งขึ้น และการร่วมงานกับ หว่อง การ์ไว ก็ทำให้ผมได้บรรลุเป้าประสงค์นั้น”

101 มีโอกาสได้ฟัง Masterclass ของ เหลียง เฉาเหว่ย นักแสดงชาวฮ่องกงผู้เป็นที่รักจาก Chungking Express (1994), In the Mood for Love (2000) ฯลฯ โดยเขาย้อนไล่เรียงชีวิตการแสดงและการ ‘กลืนกลาย’ เป็นตัวละครของเขาตลอดสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่ง 101 ถือโอกาสสรุปมาให้อ่านกันในบทความนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 Nov 2023

Film & Music

9 Nov 2023

…แล้วเธอก็ลุกขึ้นสู้ She Said

‘นรา’ ชวนชม ‘She Said’ หนังที่เปิดเปลือยเบื้องหลังการทำข่าวเจาะกรณีฮาร์วีย์ ไวน์สตีน เจ้าพ่อวงการหนัง ล่วงละเมิดทางเพศนักแสดง จนนำมาสู่กระแส #MeToo อันลือลั่น

นรา

9 Nov 2023

Life & Culture

9 Nov 2023

มากกว่าความโหยหา (Nostalgia) ใฝ่ชีวิตภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ (ที่รุ่นเราไม่มีใครจำได้)

วริตตา ศรีรัตนา ชวนอ่านและชวนดู Cosy Dens (1999) ภาพยนตร์จากสาธารณรัฐเช็ก ที่พูดถึงการเมืองเช็กผ่านครอบครัวเล็กๆ ครอบครัวหนึ่งได้อย่างแสบสันต์และชวนเจ็บปวด

วริตตา ศรีรัตนา

9 Nov 2023

Life & Culture

6 Nov 2023

“ญี่ปุ่นเป็นมากกว่าซูชิ มีมากกว่าอนิเมะ” เอมะ ไรอัน ยามาซากิ คนทำหนังผู้สำรวจสังคมญี่ปุ่นผ่านสารคดีว่าด้วย ‘โรงเรียนประถม’

“คนญี่ปุ่นไม่ได้เกิดมาเป็นอย่างที่เราเห็นกันในเวลานี้ แต่พวกเราถูกการศึกษาหล่อหลอมต่างหาก”

เอมะ ไรอัน ยามาซากิ สำรวจสังคมญี่ปุ่นที่ถูกพิจารณาว่าเป็นสังคมแห่งระเบียบแบบแผน ผ่านการศึกษาชั้นประถมที่ทำให้เห็นว่า ระเบียบแบบแผนที่ว่านั้นไม่ได้เกิดขึ้นโดยตัวมันเอง หากแต่เป็น ‘ระบบ’ ของสังคมที่เชื่อมโยงกับการศึกษาอย่างแยกไม่ขาดต่างหาก

พิมพ์ชนก พุกสุข

6 Nov 2023

Life & Culture

2 Nov 2023

“ภาพยนตร์ยังต้องหาทางรอดต่อไปในระบบทุน” สี่ทศวรรษในฐานะคนทำหนังของ จางอี้โหมว

จางอี้โหมว เป็นหนึ่งในคนทำหนังที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของยุคสมัย Hero (2002) และ House of Flying Daggers (2004) ที่เขากำกับก็ยังถูกพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในหนังจีนที่ดีที่สุดของทศวรรษ

ในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโตเกียวครั้งที่ 36 นี้ 101 มีโอกาสได้ฟังเสวนาของจางอี้โหมว ว่าด้วยชีวิตในฐานะผู้กำกับตลอดระยะเวลาสี่สิบปี

พิมพ์ชนก พุกสุข

2 Nov 2023

Life & Culture

1 Nov 2023

มนต์รักนักพากย์: จดหมายรักถึงจดหมายรักถึงภาพยนตร์ 

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เขียนถึง ‘มนต์รักนักพากย์’ ทาบทับไปกับชีวิตการดูหนังของตนเอง เมื่อวัฒนธรรมการดูหนังเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของผู้คนและมีพลวัตตลอดเวลา

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

1 Nov 2023

Life & Culture

23 Oct 2023

แกะสูตรความสำเร็จของ ‘สัปเหร่อ’ จะทำหนังไทย มีหัวใจก็อาจยังไม่พอ

‘สัปเหร่อ’ (2566) สร้างปรากฏการณ์ทำรายได้ถล่มทลาย ดึงให้คนกลับไปดูหนังในโรงภาพยนตร์อีกครั้งในวันที่ดูเหมือนศรัทธาที่คนดูมีต่อหนังไทยจะจางหายไปทุกที

พิมพ์ชนก พุกสุข

23 Oct 2023

Life & Culture

20 Oct 2023

อำนาจของภาพยนตร์: ว่าด้วยผู้คน เมือง และนิเวศทางวัฒนธรรม เมื่อการดูหนังไม่ใช่แค่เรื่องบันเทิง กับ ดร.วิกานดา พรหมขุนทอง

สกู๊ปว่าด้วยเรื่องราวของภาพยนตร์ ผู้คน และเมือง ที่ร่วมกันสร้างนิเวศทางวัฒนธรรมขึ้นมาในสังคม ผ่านความเห็นของวิกานดา พรหมขุนทอง

ปริชาติ หาญตนศิริสกุล

20 Oct 2023

Politics

16 Oct 2023

จาก ‘เสือ’ สู่ ‘สิงห์’ ถึง ‘มือปืน’: ถอดรหัสการเมืองและการเปลี่ยนแปลงทางอำนาจในควันปืนประวัติศาสตร์หนังบู๊ไทย

อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในควันปืนประวัติศาสตร์ภาพยนตร์บู๊ไทย ตั้งแต่สัญลักษณ์ของความเป็น ‘เสือ’ สู่ ‘สิงห์’ ถึง ‘มือปืน’

อิทธิเดช พระเพ็ชร

16 Oct 2023

Life & Culture

16 Oct 2023

“เราไม่เคยสนเลยว่ากระแสหนังจะเป็นแบบไหน ยังไงหนังเราก็หาเงินทำยากเท่าเดิม” ขันขื่นของชีวิตกับ เป็นเอก รัตนเรือง

กว่าสองทศวรรษที่ เป็นเอก รัตนเรือง ยืนอยู่ในสังเวียนการทำหนัง สมัยนั้นเขาแจ้งเกิดจากการเป็นคนทำโฆษณาที่ข้ามสายมาทำหนัง วันนี้ เขาข้ามสายอีกครั้งในฐานะคนทำหนังมาสู่คนทำซีรีส์ -แถมท้าทายกว่าตรงที่เขาออกตัวว่าไม่เคยดูซีรีส์อะไรกับใครเขาเลย

101 สนทนากับเป็นเอก ว่าด้วยการเขียนบทหนังและบทซีรีส์, งานกำกับและออกกองในวัย 61 ไล่เรื่อยไปจนถึงการเมืองและคนรุ่นใหม่

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Oct 2023

Film & Music

11 Oct 2023

โรงแรมผีและคนวิปลาส The Shining

‘นรา’ เขียนถึงหนึ่งในหนังสยองขวัญสุดคลาสสิก ‘The Shining’ ที่ได้เสียงตอบรับด้านลบเมื่อแรกฉาย ก่อนกลายเป็นคำชื่นชมล้นหลามและน่ากลัวจับใจคนดูในเวลาต่อมา

นรา

11 Oct 2023

Life & Culture

9 Oct 2023

Monster: สัตว์ประหลาดคือคนอื่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เขียนถึง Monster ภาพยนตร์เรื่องล่าสุดของ Kore-eda ผู้กำกับชาวญี่ปุ่น ว่าด้วยเรื่องที่ตั้งต้นจากตึกไฟไหม้ ไปจนถึงเรื่องราวของครู แม่เลี้ยงเดี่ยว และความสัมพันธ์ของเด็กชายสองคน

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

9 Oct 2023

Life & Culture

27 Sep 2023

MONSTER เพื่อนเกลอสมองหมู

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Monster (2023) ภาพยนตร์ลำดับล่าสุดของ ฮิโรคาสุ โครีเอดะ ผู้กำกับชาวญี่ปุ่น กับเรื่องราวแสนสะท้านสะเทือนหัวใจของเด็กชายสองคน

แต่เดี๋ยวก่อน! อย่าเพิ่งคิดไปว่านี่เป็นบทวิจารณ์ธรรมดาๆ เพราะระดับ ‘กัลปพฤกษ์’ เขาเคย ‘ธรรมดา’ ที่ไหน เมื่อในงานวิจารณ์รอบนี้ เขาปล่อยแถลงการณ์ Dogmouth’23 (แน่นอนว่ามีต้นธารมาจาก Dogma’95 กระแสทำหนังเดนมาร์ก) ว่าด้วยการวิจารณ์อันแสนจะบริสุทธิ์ผุดผ่อง!

‘กัลปพฤกษ์’

27 Sep 2023

Life & Culture

25 Sep 2023

ด้วยรักถึง อานเญส วาร์ดา คุณย่าคนทำหนังแห่ง French New Wave และ ‘ภาพยนตร์นิเวศ’ ในหนังของเธอ: ไกรวุฒิ จุลพงศธร

ภาพยนตร์นิเวศคืออะไร และเหตุไฉนมันจึงเกี่ยวข้องกับหนังของ อานเญส วาร์ดา คุณย่าคนทำหนังแห่งยุค French New Wave กับเรื่อง Gleaners and I (2000) หนังสารคดีของเธอที่ว่าด้วย ‘นักเก็บ’ ข้าวของที่ถูกทิ้ง นับตั้งแต่มันฝรั่งไปจนถึงชีวิตของบรรดาคนชายขอบ

พิมพ์ชนก พุกสุข

25 Sep 2023
1 2 3 4 26

MOST READ

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

Life & Culture

18 Mar 2024

“เราตายได้ทุกวัน แต่การรักใครสักคนนั้นไม่ได้เกิดขึ้นได้ทุกวัน” มัตสึนากะ ไดชิ ผู้กำกับจาก Egoist (2022)

101 สนทนากับ มัตสึนากะ ไดชิ ผู้กำกับจาก Egoist (2022) ว่าด้วยประเด็นอันแหลมคมของหนังอย่างความรักกับทุนนิยม, การต่อรองทางอำนาจในความสัมพันธ์ และความตาย

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 Mar 2024

Life & Culture

25 Mar 2024

เซ็นเซอร์ต้องตาย ภาพยนตร์ไทยต้องรอด เสรีภาพคนดูหนังจงเจริญ

ในวาระที่ศาลปกครองสูงสุดยกเลิกคำสั่งห้ามฉาย ‘เชคสเปียร์ต้องตาย’ (2011) ประวิทย์ แต่งอักษร จึงชวนสำรวจประวัติศาสตร์ของการ ‘เซ็นเซอร์’ ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และบาดแผลที่มันได้ทอดทิ้งไว้ให้คนทำหนังรุ่นแล้วรุ่นเล่า ไล่เรื่อยมาจนถึงคนดูอย่างเราๆ ด้วย

ประวิทย์ แต่งอักษร

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save