fbpx

Thailand: The Great Reset

12 Jul 2021

“ประเทศไทยเหมือนเพลงเชียร์ยูโร” ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม

101 ชวน ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม หนึ่งในผู้คร่ำหวอดในวงการดนตรี-บันเทิงไทยมาหลายสิบปีมามองความเปลี่ยนแปลงในวงการที่เจอโจทย์ท้าทายหลายด้าน และชวนมองถึงสังคมในฝัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Jul 2021

Life & Culture

22 Jun 2021

ANOTHER ROUND หมดสิ้นความทุกข์เศร้า เพราะเหล้าคือเพื่อนแท้

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Another Round ภาพยนตร์สัญชาติเดนมาร์ก โดยผู้กำกับ Thomas Vinterberg ที่เล่าถึง ‘คุณประโยชน์’ ของการร่ำสุรา ผ่านเรื่องราวของก๊วนเพื่อนครูที่ร่วมมือกันทำการทดลองการใช้ชีวิตด้วย ‘แอลกอฮอล์’ จนเกิดเป็นผลลัพธ์ที่สุดแสนจะซาบซ่า

‘กัลปพฤกษ์’

22 Jun 2021

Life & Culture

9 Jun 2021

ความนิยมเยอรมันใน ‘ปรัสเซียแห่งบูรพาทิศ’

อ่านความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับเยอรมัน ที่เกาะเกี่ยวโยงใยกันอย่างแน่นแฟ้นจนกำเนิดยุคแห่ง ‘ความนิยมเยอรมัน’ ในญี่ปุ่นช่วงปี 1880 และส่งผลมาถึงปัจจุบัน

ชลิดา หนูหล้า

9 Jun 2021

Life & Culture

31 May 2021

Dogtooth: ครอบครัววิปลาส ฟันเขี้ยวหมา อิทธิพลของภาษา และเผด็จการอำนาจเบ็ดเสร็จในรั้วบ้าน

Watchman ประเดิมคอลัมน์ Weirdoo ตอนแรก ด้วยการชวนดูหนังเวียร์ดสะท้อนภาพสังคมเผด็จการอย่างเรื่อง Dogtooth

Watchman

31 May 2021

Life & Culture

31 May 2021

PROMISING YOUNG WOMAN แผนดับฝันสุภาพบุรุษกลัดมัน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Promising Young Woman โดยผู้กำกับ Emerald Fennell แม้ตัวหนังจะว่าด้วยเรื่องการล้างแค้นให้เพื่อนสาวผู้ถูกผู้ชายและสังคมย่ำยี แต่กลับถ่ายทอดประเด็นเรื่องเพศได้อย่างน่าสนใจ

‘กัลปพฤกษ์’

31 May 2021

Asean

23 May 2021

Iwan Fals: นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิตอินโดนีเซียผู้ไม่เชลียร์เผด็จการ

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง Iwan Fals นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิตชาวอินโดนีเซีย ที่มีชื่อเสียงในระดับโลกจากการวิจารณ์การเมืองและผู้นำเผด็จการผ่านบทเพลง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 May 2021

Life & Culture

21 May 2021

อ่าน (หนัง) บางระจันใหม่ ในฐานะแฟนตาซีของวันสิ้นชาติ และอุดมการณ์ชาตินิยมที่ไม่มีราชาในนั้น

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนอ่านหนังบางระจันใหม่ในวาระครบรอบ 21 ปี บางระจันทำหน้าที่อะไรในสังคมไทยทั้งก่อนหน้านี้และในปัจจุบัน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

21 May 2021

Politics

29 Apr 2021

HONGKONGERS 2014 ความหวังคือการต่อต้าน

คอลัมน์ Cinema of Resistance ตอนที่ 2 ของวิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ว่าด้วยสารคดีที่เล่าเรื่องคนรุ่นใหม่ฮ่องกงที่ลุกขึ้นมาต่อสู้ทางการเมือง

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

29 Apr 2021

Life & Culture

27 Apr 2021

NOMADLAND สุดเขตชายแดนคือรั้วบ้านของฉัน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงภาพยนตร์ Nomadland ของผู้กำกับหญิงชาวจีน Chloé Zhao ที่กวาดรางวัลจากเวทีการประกวดออสการ์ ครั้งที่ 93 ไปถึง 3 รางวัล ตัวหนังเล่าถึงภาพชีวิตทางเลือกของกลุ่มคนอเมริกันที่ปฏิเสธการตั้งเหย้าเรือนเป็นหลักแหล่งแห่งที่ ใช้ชีวิตประจำวันกินอยู่หลับนอนใน ‘รถบ้าน’ และย้ายตำแหน่งเพื่อหางานทำไปเรื่อยๆ ในแบบฉบับของกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad)

‘กัลปพฤกษ์’

27 Apr 2021

Life & Culture

18 Apr 2021

สหาย:อันเกือบจะเป็นเรื่องรัก Comerades: Almost a Love Story

‘นรา’ เขียนถึง ‘Comerades: Almost a Love Story’ หรือ ‘เถียนมีมี่ 3650 วันรักเธอคนเดียว’ หนังที่ขึ้นชื่อว่าตำนานหนังรักมาสเตอร์พีซและภาพบันทึกประวัติศาสตร์ฮ่องกง

นรา

18 Apr 2021

Life & Culture

18 Apr 2021

ศาสตร์พระเจ้าจักรา กับสารที่ “พระเจ้าช้างเผือก” สื่อ

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนชมศาสตร์ของพระราชานามพระเจ้าจักราด้านการปกครอง ในภาพยนตร์เรื่อง ‘พระเจ้าช้างเผือก’ ประพันธ์โดย ปรีดี พนมยงค์

กษิดิศ อนันทนาธร

18 Apr 2021
1 12 13 14 26

MOST READ

Life & Culture

20 Mar 2024

๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ : ขอบคุณนะคะที่กล้าจะสอน

ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์นั้นมีสองด้านเสมอ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์แบบ ‘๒๔๗๕ รุ่งอรุณแห่งการปฏิวัติ’ (2024) แอนิเมชั่นที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยการหยิบประวัติศาสตร์กระแสหลักมาเล่าใหม่ และเลนส์การมองการคัดง้างทางอำนาจของการเมืองไทยแบบฝั่งธรรมะ-อธรรม รวมทั้งผู้สอน-ผู้ถูกสอนด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Mar 2024

Life & Culture

18 Mar 2024

“เราตายได้ทุกวัน แต่การรักใครสักคนนั้นไม่ได้เกิดขึ้นได้ทุกวัน” มัตสึนากะ ไดชิ ผู้กำกับจาก Egoist (2022)

101 สนทนากับ มัตสึนากะ ไดชิ ผู้กำกับจาก Egoist (2022) ว่าด้วยประเด็นอันแหลมคมของหนังอย่างความรักกับทุนนิยม, การต่อรองทางอำนาจในความสัมพันธ์ และความตาย

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 Mar 2024

Life & Culture

25 Mar 2024

เซ็นเซอร์ต้องตาย ภาพยนตร์ไทยต้องรอด เสรีภาพคนดูหนังจงเจริญ

ในวาระที่ศาลปกครองสูงสุดยกเลิกคำสั่งห้ามฉาย ‘เชคสเปียร์ต้องตาย’ (2011) ประวิทย์ แต่งอักษร จึงชวนสำรวจประวัติศาสตร์ของการ ‘เซ็นเซอร์’ ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และบาดแผลที่มันได้ทอดทิ้งไว้ให้คนทำหนังรุ่นแล้วรุ่นเล่า ไล่เรื่อยมาจนถึงคนดูอย่างเราๆ ด้วย

ประวิทย์ แต่งอักษร

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save