fbpx

City

22 Jun 2020

เมื่อเราต้องอยู่อาศัยในสองโลก

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงการใช้ชีวิตในสองโลก ระหว่าง ‘ออนไลน์’ และ ‘ออฟไลน์’ ในช่วงการระบาดของโควิด ที่อาจจะเป็นจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ในการทำงานและการเรียนการสอน

รชพร ชูช่วย

22 Jun 2020

City

19 Jun 2020

เมืองแพลตฟอร์ม

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองแพลตฟอร์ม พิจารณาความเป็นเมืองที่ขยายไปสู่พื้นที่บนโลกดิจิทัล และทิศทางการพัฒนาของเมืองแพลตฟอร์มในอนาคต

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

19 Jun 2020

City

4 Jun 2020

ออกแบบชีวิตเมืองยุค COVID-19 กับ รชพร ชูช่วย

หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 รูปแบบการอยู่อาศัยของผู้คนจะเปลี่ยนไปอย่างไร 101 ชวน รชพร ชูช่วย อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมคิดในประเด็นเหล่านี้

กองบรรณาธิการ

4 Jun 2020

City

11 May 2020

เมื่ออาคารยุคใหม่ไม่ ‘ปรับอากาศ’ เอง : ทำอย่างไรให้เกิด ‘สภาวะน่าสบาย’ โดยไม่เปิดแอร์

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงอาคารสมัยใหม่ที่ใช้ ‘เครื่องปรับอากาศ’ ในการ ‘ปรับอากาศ’ โดยไม่ได้มีระบบหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้อยู่อาศัย

รชพร ชูช่วย

11 May 2020

City

10 Apr 2020

เมื่อวิกฤตร่างกายเรียกร้องที่เว้นว่าง ให้ห่างห่างจากกันและกัน

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงการใช้พื้นที่ที่เปลี่ยนไปหลังเกิดการระบาดของโควิด-19 เมื่อทุกคนต้องห่างกัน แล้วสถาปัตยกรรมต้องปรับตัวอย่างไร

รชพร ชูช่วย

10 Apr 2020

City

27 Feb 2020

เพราะมีห้องน้ำมากมายจึงโดดเดี่ยว 

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึง ‘ความเป็นส่วนตัว’ ที่เกิดขึ้นจากสถาปัตยกรรม ในยุคที่ผู้คนมีกำลังจับจ่ายสินค้าและบริการมากขึ้น ความส่วนตัวที่ว่านี้มีข้อดีข้อเสียอย่างไร

รชพร ชูช่วย

27 Feb 2020

City

31 Jan 2020

สถาปัตยกรรมที่นับรวม : เมื่อมนุษย์ทุกคนต้องการที่กินข้าว

คอลัมน์ Shaped by Architecture ตอนแรกของ รชพร ชูช่วย ว่าด้วย ‘สถาปัตยกรรมที่นับรวม’ ตั้งคำถามกับอาคารที่ไม่มีพื้นที่ให้แม่บ้านทานข้าว หรือที่นั่งพักให้พนักงาน สถาปัตยกรรมจะเข้ามาช่วยตรงนี้ได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

31 Jan 2020

City

30 Jan 2020

คนไทยในอนาคตล้วนเป็นคนเมือง

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึงอนาคตของเมืองไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า เมื่อทุกหนทุกแห่งกลายเป็นเมือง มีวิถีชีวิตแบบเมือง แม้แต่ในชนบทและพื้นที่ห่างไกล

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

30 Jan 2020

City

10 Oct 2019

สิ่งที่ ‘ศูนย์ประชุม’ พึงมี

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา มาด้วยเรื่อง ‘ศูนย์ประชุม’ ที่ดี ควรมีอะไรบ้าง สืบเนื่องจากงานหนังสือปีนี้ย้ายที่ไปจัดอยู่หอประชุมชานเมืองแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ

โตมร ศุขปรีชา

10 Oct 2019

Spotlights

31 Jul 2019

อนาคตเมือง เมือง (ไร้) อนาคต กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

อนาคตเมือง เมือง (ไร้) อนาคต คุยเรื่องเมืองอย่างถึงแก่น กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ เพื่อตอบคำถามว่า ภายใต้โครงสร้างและข้อจำกัดของเมืองในประเทศไทย อะไรคือความท้าทายที่แท้จริงกันแน่

กองบรรณาธิการ

31 Jul 2019

Economic Focus

18 Jul 2019

Futurising Thailand : โลกใหม่ เมืองแบบใหม่ พัฒนาเมืองอย่างไรในโลก 4.0

เก็บความจากวงเสวนา ‘Futurising Thailand ครั้งที่ 3 : โลกใหม่ เมืองแบบใหม่ ชีวิตความเป็นอยู่คนไทยในโลก 4.0’ ว่าด้วยเทรนด์การพัฒนาเมืองในโลกยุคใหม่

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Jul 2019

City

15 Jul 2019

ป้ายหน้าของรถเมล์ไทย สาย 2562 กับ สุเมธ องกิตติกุล

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ คุยกับ สุเมธ องกิตติกุล ผู้อำนวยการวิจัย ด้านนโยบายการขนส่ง และโลจิสติกส์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย (TDRI) สำรวจเบื้องหลังปัญหาการพัฒนารถเมล์ ทั้งการบริการ และความปลอดภัย ตอบคำถามที่ว่า ทำไมคุณภาพขนส่งสาธารณะเรายังไปไม่ถึงไหน และหากจะวิ่งถึงสุดสายความสำเร็จ ต้องผ่านป้ายไหนบ้าง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

15 Jul 2019

City

12 Jul 2019

Futurising Thailand : Chiang Mai Model พัฒนาเมืองอย่างไรให้ไม่ทิ้งราก

เก็บความจากงานสัมมนา Futurising Thailand ครั้งที่ 3 ว่าด้วยแนวคิดเบื้องหลังของการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ รวมถึงมุมมองและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาเมือง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 Jul 2019

Happy Family

10 Jul 2019

อำนาจของสถาปัตยกรรมต่อ ‘คน’ และ ‘เมือง’ : ผศ.ดร.รชพร ชูช่วย

สัมภาษณ์ ผศ.ดร. รชพร ชูช่วย ว่าด้วยออฟฟิศในโลกยุคใหม่ วันหยุดกับวิถีคนเมือง หน้าตาของอาคารในโลกเมื่อ 20 ปีที่แล้วต่างจากตอนนี้อย่างไร พื้นที่สาธารณะหมายถึงอะไร อาคารส่งผลต่อวิถีชีวิตผู้คนอย่างไร และสถาปัตยกรรมที่เราเห็นสะท้อนภาพสังคมแบบใดบ้าง หนึ่งในตอนของ Spotlight ‘บางคอก’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

10 Jul 2019
1 5 6 7 8

RECOMMENDED

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

31 Mar 2024

ฝาท่อที่ญี่ปุ่นบอกอะไรกับเรา

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการออกแบบฝาท่อที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อสะท้อนเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

31 Mar 2024

Science & Innovation

11 Apr 2024

‘ความผิดคนอื่นเท่าภูเขา ความผิดตัวเราเท่าเมล็ดงา’ ทำไมคนเราชอบโยนความผิดให้คนอื่น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปทำความเข้าใจวิทยาศาสตร์ของการ ‘โทษคนอื่น’ ผ่านหลากหลายการทดลองที่หาคำตอบว่าทำไมมนุษย์ชอบโยนความผิดให้ผู้อื่น แม้จะเป็นความผิดพลาดของตัวเองก็ตาม

นำชัย ชีววิวรรธน์

11 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

25 Mar 2024

เราควรทำได้

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าประสบการณ์ในโรงพยาบาลเอกชนในฐานะผู้ป่วย และชวนคิดถึงข้อแตกต่างที่เกิดในโรงพยาบาลรัฐ เมื่อผู้บริหารมีอำนาจตัดสินใจที่ไม่เท่ากัน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save