fbpx

City

14 Feb 2023

กรุงเทพ เมืองร้างรัก: เมื่อเมืองไม่ดี… โอกาสพบรักดีๆ ของเยาวชนก็ไม่เกิด

คิด for คิดส์ ชวนมาสำรวจหัวใจ-เช็กสถานะความโสดของเยาวชนกรุงเทพฯ พร้อมร่วมขบคิดว่าทำไมเยาวชนกรุงเทพฯ ถึงโสดกันเสียส่วนใหญ่? ทำไมมหานครแห่งนี้ไม่เอื้อให้พบรักดีๆ ได้เท่าใดนัก?

วรดร เลิศรัตน์

14 Feb 2023

Economy

5 Feb 2023

‘ขอนแก่นโมเดล’ ฝันไกลที่รัฐส่วนกลางไม่ยอมให้ไปถึง?

กว่า 8 ปีของโปรเจ็กต์ ‘ขอนแก่นโมเดล’ โครงการไหนขยับไปอย่างไรบ้าง อะไรบ้างที่ติดคอขวดกฎหมาย และเรื่องไหนที่พอจะทำให้คนท้องถิ่นมีความหวัง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

5 Feb 2023

Social Issues

16 Dec 2022

หลังเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ เราไปพ้นจากภาวะ ‘รอรถเมล์จนร้องไห้’ หรือ ‘หลังติดเบาะเพราะรถเมล์ซิ่ง’ แล้วหรือยัง

หลังการเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ที่ทำให้ประชาชนได้ใช้รถเมล์ใหม่ๆ สะอาดสะอ้าน แต่ก็ต้องแลกมากับการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างไม่ว่าจะเส้นทางการวิ่งของรถเมล์บางสาย หรือความสับสนของป้ายหมายเลข ฯลฯ เรามากันถูกทางหรือยัง นับจากนี้ เรายังจะต้องเจอกับภาวะ ‘รอรถเมล์จนร้องไห้’ อีกไหม

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Dec 2022

Social Issues

1 Dec 2022

บ้านเราถูกเขาไล่ : ความไม่แน่นอนด้านที่อยู่อาศัย ในเมืองที่ไม่มีผืนดินสำหรับคนจน

101 เจาะลึกปัญหาความไม่มั่นคงด้านที่อยู่อาศัยของคนจนเมือง ในวันที่ราคาบ้านและที่ดินเพิ่มขึ้นสูง จนการมีบ้านเป็นได้แค่ความฝัน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

1 Dec 2022

City

1 Sep 2022

ชะตากรรมของศาลากลางหลังเก่าสะท้อนอะไร

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงของศาลากลางจังหวัด ที่พัฒนาหลายยุคหลายสมัย แต่สร้างคำถามถึงประโยชน์ใช้สอยที่ตอบโจทย์ต่อประชาชน

ณัฐกร วิทิตานนท์

1 Sep 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

เมืองกับภาพยนตร์

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงเรื่องหนังกับเมือง เมื่อภาพยนตร์สามารถสร้างชีวิตและภาพให้เมือง และกลายเป็นจุดดึงดูดการท่องเที่ยวได้อย่างน่าสนใจ

ณัฐกร วิทิตานนท์

8 Aug 2022

Interviews

21 May 2022

Public Library ‘Outside In’ เปิดห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองฝรั่งเศส-เยอรมนี

ในวันที่ห้องสมุดสาธารณะกำลังกลายเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญในการพัฒนา ‘เมืองกรุงเทพฯ’ ให้กลายเป็น ‘มหานครแห่งการเรียนรู้’ 101 ชวนมองความเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองแบบ ‘เทศมองไทย’ จากฝรั่งเศสและเยอรมนี สนทนากับห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและห้องสมุดมัลติมีเดียสมาคมฝรั่งเศส ว่าด้วยการออกแบบห้องสมุดสาธารณะกลายเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ในเมืองได้อย่างแท้จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 May 2022

Life & Culture

20 May 2022

101 In Focus Ep.129: กรุงเทพฯ เมือง ‘คน’ สร้าง

101 ชวนฟังสารพัดประเด็นแห่งมหานครกรุงเทพฯ ทั้งปัญหาและวิธีแก้ ไล่เรียงตั้งแต่เรื่องสัตว์ในเมือง การออกแบบรูปแบบคมนาคมอย่างมีคุณภาพ การจัดระเบียบธุรกิจกลางคืน การจัดการพื้นที่การเรียนรู้ และคุณภาพชีวิตของคนขับมอเตอร์ไซค์

กองบรรณาธิการ

20 May 2022

Bangkok บางคอก

20 May 2022

รถติด, รถไฟฟ้าแพง, น้ำท่วม, PM2.5 – ส่องวิสัยทัศน์ผู้สมัครผู้ว่าฯ กับปัญหาคลาสสิกของคนกรุง

สู่ช่วงโค้งสุดท้ายเลือกตั้งผู้ว่าฯ 101 ชวนย้อนดูวิสัยทัศน์ 5 ผู้สมัคร ต่อปัญหาคลาสสิกของคนกรุงเทพฯ ทั้งรถติด รถไฟฟ้าแพง น้ำท่วม และฝุ่น PM2.5

กองบรรณาธิการ

20 May 2022

Life & Culture

18 May 2022

เหล้ายา บาร์ สาวเปลือย มรดกรักจากสหรัฐฯ ถึงพัทยา

ภายหลังสงครามเวียดนาม สหรัฐฯ ส่งกองทัพอเมริกันมาลงพื้นที่เตรียมทำสงครามในอุษาคเนย์ การสร้างฐานบินอู่ตะเภาขยับขยายหลายชีวิตของนายทหารอเมริกันให้เข้ามายังเมืองพัทยา และเปลี่ยนโฉมหน้าเมืองเป็น ‘อเมริกันทาวน์’ กับภาพจำของเมืองที่ไม่เคยหลับใหลด้วยเหล้าและผู้หญิงจนถึงปัจจุบัน

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 May 2022

Life & Culture

16 May 2022

จาก ‘ไดร์ฟเวอร์’ สู่ ‘ไรเดอร์’ กับการเมืองเรื่อง (บน) ท้องถนน – ตั้งคำถามเรื่องทุนนิยม กับ เคลาดิโอ โซปรานเซ็ตติ

อ่านความสัมพันธ์-ขัดแย้งของวินมอไซค์กับไรเดอร์ และสิ่งที่ไรเดอร์ต้องเผชิญในการทำงานกับแพลตฟอร์ม ผ่านงานวิจัยของโซปรานเซ็ตติ

กองบรรณาธิการ

16 May 2022

Interviews

9 May 2022

อนุชิต เจริญศรีสมจิตร: 19 ปีแฟนพันธุ์แท้กรุงเทพฯ อะไรเปลี่ยนไปและอะไรยังคงเดิม

19 ปีให้หลังจากคว้าแชมป์รายการ ‘แฟนพันธุ์แท้ ตอน กรุงเทพมหานคร’ 101 ชวน อนุชิต เจริญศรีสมจิตร กลับมาพูดคุยเกี่ยวกับกรุงเทพฯ ที่เขารู้จักเป็นอย่างดีจนได้ชื่อว่าทะลุปรุโปร่งมากที่สุดในประเทศ ว่าสองทศวรรษที่ผ่านมานั้น เมืองหลวงแห่งนี้มีอะไรที่เปลี่ยนไป อะไรยังเหมือนเดิม และแฟนพันธุ์แท้อย่างเขามองการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่จะมาถึงนี้ว่าอย่างไรบ้าง

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 May 2022

City

9 May 2022

‘มอเตอร์ไซค์’ เส้นเลือดเลี้ยงชีวิตกรุงเทพฯ ที่ถูกมองข้าม: 3 ข้อเสนอนโยบายเพื่อผู้ขับขี่

101 PUB ชวนทำความเข้าใจความสำคัญของมอเตอร์ไซค์ต่อกรุงเทพฯ สำรวจปัญหาของผู้ขับขี่ และเสนอแนวนโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีสิทธิบนท้องถนนเสมอหน้ากับผู้ใช้ถนนกลุ่มอื่นมากขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

9 May 2022

Social Issues

9 May 2022

หลากรสชีวิตไรเดอร์: ‘เสี่ยง-ไม่แน่นอน’ อิสระบนข้อเสนอที่ปฏิเสธไม่ได้

การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์ ชวนสำรวจสภาพการทำงานของเหล่า ‘ไรเดอร์’ บนวิธีคิดเรื่องการทำงานที่อิสระและยืดหยุ่น แต่ในความเป็นจริงกลับเต็มไปด้วยข้อเสนอที่ปฏิเสธไม่ได้ อันทำให้ชีวิตพวกเขาเต็มไปด้วยความไม่แน่นอนและความเสี่ยง

การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์

9 May 2022
1 2 3 8

RECOMMENDED

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

31 Mar 2024

ฝาท่อที่ญี่ปุ่นบอกอะไรกับเรา

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการออกแบบฝาท่อที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อสะท้อนเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

31 Mar 2024

ข้างสนาม

18 Apr 2024

ฉายานี้ท่านได้แต่ใดมา? ทีมชาติคอสตาริกา เจ้าของฉายากล้วยหอม!

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจฉายาที่ ‘อิหยังวะ’ นั่นคือทีมชาติคอสตาริกาที่มีฉายา ‘กล้วยหอม’ ว่ามีที่มาอย่างไร และทำไมถึงต้องเป็นกล้วยหอม

เจนอักษร ธนวรสกุล

18 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save