fbpx

Life & Culture

23 Jun 2022

‘หญิงคนชั่ว’ โสเภณีที่กดทับตัวเองด้วยแอกศีลธรรม – นิยายเปลือยชีวิตชนชั้นล่างใต้เงาปฏิวัติสยาม 2475

ภิญญพันธ์ุ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงนิยาย ‘หญิงคนชั่ว’ ของ ก.สุรางคนางค์ ที่สะท้อนให้เห็นว่าสภาพสังคมช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ยังมีชนชั้นล่างที่ต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

23 Jun 2022

Life & Culture

21 Jun 2022

การเดินทางของคนหัวใจสลาย The Unlikely Pilgrimage of Harold Fry

‘นรา’ เขียนถึง The Unlikely Pilgrimage of Harold Fry (ความตายครั้งที่มีความหมายมากที่สุด) ของเรเชล จอยซ์ ซึ่งมีส่วนผสมลงตัวระหว่างความเป็นนิยาย feel good สูตรสำเร็จและลีลานำเสนอเฉพาะตัวน่าประทับใจ

นรา

21 Jun 2022

Life & Culture

17 Jun 2022

โมงยาม ความรัก ความตาย ของตัวละครเควียร์ ในนวนิยาย The Hours (ห้วงเวลาแห่งชีวิต)

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร เขียนถึงงานวรรณกรรม The Hours หรือ ห้วงเวลาแห่งชีวิต ของ ไมเคิล คันนิงแฮม ในแง่ชีวิต ความรักและความตายของตัวละครเควียร์ทั้งสามในเรื่อง ผ่านการกดทับและต่อสู้ในแต่ละห้วงเวลาของประวัติศาสตร์

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

17 Jun 2022

Books

16 Jun 2022

ลุกไหม้สิ! ซิการ์ ลุกโชนขึ้นมากับไรห์มของการทรยศ

ณภัค เสรีรักษ์ เขียนถึงหนังสือ ‘ลุกไหม้สิ! ซิการ์’ ของชัชชล อัจฯ ซึ่งเป็นรวมกวีนิพนธ์ว่าด้วยสังคม-การเมืองไทยในปี 2553 และ 2563

ณภัค เสรีรักษ์

16 Jun 2022

Life & Culture

1 Jun 2022

จดหมายจากสุดขอบโลก: เมื่อเครก เจ. เรย์โนลด์ส คิดคำนึงถึงอดีตในปัจจุบัน

สายชล สัตยานุรักษ์ เขียนถึง ‘จดหมายจากสุดขอบโลก คิดคำนึงถึงอดีตในปัจจุบัน’ หนังสือรวมบทความของเครก เจ. เรย์โนลด์ส ที่มองประวัติศาสตร์สังคม วัฒนธรรม และการเมือง ผ่านชีวิตของคน

สายชล สัตยานุรักษ์

1 Jun 2022

Life & Culture

25 May 2022

ประเทศไร้ทรงจำ ว่าด้วยบทกวีแห่งความโกรธเกรี้ยวของกวี

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘ประเทศไร้ทรงจำ’ หนังสือรวมบทกวีของ รอนฝัน ตะวันเศร้า กวีรุ่นใหม่ที่น่าจับตามองในแวดวงวรรณกรรมไทย ถ่ายทอดการค้นหาตัวตนท่ามกลางยุคสมัยแห่งความสิ้นหวังของประเทศ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

25 May 2022

Life & Culture

25 May 2022

สามก๊ก-ราชาธิราชในพระราชพงศาวดาร: พลังวัฒนธรรม ‘เจ๊กปนมอญ’ และการชิงอำนาจในราชสำนักกรุงเทพฯ

ภิญญพันธ์ุ พจนะลาวัณย์ ชวนอ่าน ‘สามก๊ก’ และ ‘ราชาธิราช’ วรรณกรรมแปลที่ส่งผลต่องานเขียนในยุคต้นรัตนโกสินทร์ และการสร้างประวัติศาสตร์เพื่ออำนาจของชนชั้นนำ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

25 May 2022

Life & Culture

23 May 2022

สุภาพบุรุษนักฝัน The Great Gatsby

‘นรา’ เขียนถึง ‘The Great Gatsby’ วรรณกรรมคลาสสิกขึ้นหิ้งจากปลายปากกาของเอฟ. สก็อตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ ซึ่งเต็มไปด้วยรสบันเทิงและสะท้อนสังคมอเมรยุคทศวรรษ 1920

นรา

23 May 2022

Life & Culture

19 May 2022

อยู่เองได้ โตเองเป็น ตอนที่ 1

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงหนังสือ ‘อยู่เองได้ โตเองเป็น’ และชวนคิดถึงการเลี้ยงลูกให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 May 2022

Life & Culture

18 May 2022

แปลการเมืองไทย: อภิรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี รีวิวหนังสือ Thai Politics in Translation: Monarchy, Democracy and the Supra-constitution รวมงานเขียนของปัญญาชนร่วมสมัยที่อธิบายการเมืองไทยในหลายมิติ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

18 May 2022

Life & Culture

28 Apr 2022

‘กึ่งศตวรรษ วัฒน์ วรรลยางกูร ในสายธารวรรณกรรมไทย’ ชายผู้เขียนหนังสือทั้งชีวิต – ด้วยชีวิต

บทสรุปงานเสวนา ‘กึ่งศตวรรษ วัฒน์ วรรลยางกูร ในสายธารวรรณกรรมไทย’ ในวาระการจากไปของวัฒน์ วรรลยางกูร นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ร่วมเสวนาโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี, วาด รวี และ ไอดา อรุณวงศ์

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Apr 2022

Life & Culture

19 Apr 2022

เพ็ดดีกรีนั้นหรือก็คือหัวนอนปลายตีนของคน: ‘นิกกับพิม’ นิยายที่แฝงนัยเหยียดเจ๊ก คอมมิวนิสต์ และชนชั้นล่าง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์เขียนถึงนวนิยาย ‘นิกกับพิม’ ของ ว.ณ ประมวญมารค ที่สะท้อนภาพชนชั้นกลาง-สูงไทยและความชาตินิยมที่ปรากฏผ่านการเสียดสี ‘ฝรั่ง เจ๊ก และคอมมิวนิสต์’

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

19 Apr 2022

Life & Culture

4 Apr 2022

โชติชีวิตบรรลัยของแพทริก ชั่ยฯ : ชนชั้น วัฒนธรรม และคนเจนเอ็กซ์

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘โชติชีวิตบรรลัยของแพทริก ชั่ยฯ’ วรรณกรรมลำดับล่าสุดของ อุทิศ เหมะมูล โดยสำรวจชีวิตของตัวละครลูกหลานคนจีนอพยพมีอันจะกิน ภายใต้บริบทการเมืองโลกช่วงศตวรรษที่ 70 จนถึง 90 ที่ส่งผลสะเทือนต่อแพทริกอย่างใหญ่หลวง ไม่ว่าจะเพลงที่ฟัง หนังที่ดู เรื่อยไปจนถึงทัศนคติต่อการเมืองในบ้านตัวเอง

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 Apr 2022
1 8 9 10 29

MOST READ

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

Books

23 Apr 2024

ซินเดอเรลลา-ทวาทศมาส Like Water for Chocolate (ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา)

‘นรา’ แนะนำนิยายชิงรักหักสวาทแต่คลาสสิกขึ้นหิ้งของแวดวงวรรณกรรมละตินอเมริกัน Like Water for Chocolate – ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา ของเลารา เอสกิเวล

นรา

23 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save