fbpx

World

3 Sep 2023

การเมืองเรื่องสหพันธรัฐในพม่า

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงหนังสือเรื่อง ‘การเมืองของสหพันธรัฐในพม่า’ ของดุลยภาค ปรีชารัชช ว่าด้วยกระบวนการมุ่งสู่ความเป็นสหพันธรัฐของพม่า

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

3 Sep 2023

Life & Culture

23 Aug 2023

ทุ่งมหาราช : สำนึกราชาชาตินิยม-ท้องถิ่นนิยม ทศวรรษ 2490 กับ พลังของฝ่ายขวาในฉากอาณานิคมสยาม ทศวรรษ 2440

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ทุ่งมหาราช’ นวนิยายโดยมาลัย ชูพินิจ นามปากกา ‘เรียมเอง’ เขียนขึ้นในปลายทศวรรษ 2490 ฉายภาพสังคมไทยที่ผ่านความตื่นเต้นของระบอบใหม่ ที่อุดมการณ์และพลังของฝ่ายขวากำลังกลับมาขยายตัว

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

23 Aug 2023

Life & Culture

21 Aug 2023

เธออยู่ในเทพนิยายผิดเรื่อง We Have Always Lived in the Castle (บนดวงจันทร์ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ)

‘นรา’ ชวนอ่าน We Have Always Lived in the Castle (บนดวงจันทร์ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ) ผลงานของเชอร์ลีย์ แจ็คสัน สะเทือนขวัญผู้อ่านด้วยความโหดร้ายที่มนุษย์กระทำต่อกัน

นรา

21 Aug 2023

World

11 Aug 2023

13 บุปผาแห่งนานกิง : สงครามมิเคยสร้างวีรสตรีหรือวีรบุรุษ มีเพียงแต่ทำให้มนุษย์กลายเป็นปีศาจ

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ เขียนถึงหนังสือ ’13 บุปผาแห่งนานกิง’ กับโศกนาฏกรรมครั้งประวัติศาสตร์ที่ถูกเรียกขานว่า ‘เหตุการณ์สังหารหมู่นานกิง’

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

11 Aug 2023

Books

1 Aug 2023

โทษประหาร โคล้ด เกอ: กฎหมายมิได้เขียนโดยพระเจ้า มิใช่สิ่งอันแตะต้องมิได้

ชวนอ่าน ‘โทษประหาร โคล้ด เกอ (Claude Gueux)’ หนังสือของวิกตอร์ อูโกอันชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของโทษประหารชีวิตและความเป็นธรรมในสังคม

วจนา วรรลยางกูร

1 Aug 2023

Life & Culture

1 Aug 2023

‘ละครแห่งชีวิต’ ความล้าหลังและศิวิไลซ์กับมุมมองแบบเจ้าอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ละครแห่งชีวิต’ นวนิยายโดยหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ ที่สะท้อนความรู้สึกนึกคิดแบบเจ้าอาณานิคมของชนชั้นนำสยาม ก่อนการปฏิวัติ 2475

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

1 Aug 2023

Life & Culture

28 Jul 2023

กลับไปอ่านเรื่องราวของสามัญชนและ “ชีวิตที่เป็นไปได้” ใน คนดีศรีอยุธยา

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คนดีศรีอยุธยา’ งานวรรณกรรมเลื่องชื่อของ เสนีย์ เสาวพงศ์ ว่าด้วยชีวิตของเหล่าสามัญชนกับความเป็นไปได้ในการจะมีชีวิตอันเป็น ‘สามัญ’ และ ‘เท่าเทียม’

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Jul 2023

Life & Culture

25 Jul 2023

กระจกเงิน ผ้าเช็ดหน้า และขวดยาขี้ผึ้ง The Forty Rules of Love (บัญญัติสี่สิบประการแห่งรัก)

‘นรา’ เขียนถึง ‘บัญญัติสี่สิบประการแห่งรัก’ (The Forty Rules of Love) นวนิยายรักที่แฝงด้วยการขบคิดถึงความสงบสุขทางจิตวิญญาณ พระเจ้าและความรัก

นรา

25 Jul 2023

Life & Culture

19 Jul 2023

เด็กๆ ในชุมชนคุณแม่ทองจันทร์ ล้วน ‘ช่างสำราญ’ และหลอกหลอน

บทวิจารณ์เรื่อง ‘ช่างสำราญ’ ของจิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร ว่าด้วยมุมมองของผู้ใหญ่ต่อเด็ก และภาพชุมชนยากจนที่ตามเป็นเงาของการพัฒนาสังคมสมัยใหม่

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

19 Jul 2023

Life & Culture

3 Jul 2023

“รักในลวง” ว่าด้วยชนชั้นกลางกับความพยายามจะเปลี่ยนผ่านตัวเอง

‘ชนชั้นกลาง’ ดูจะเป็นหนึ่งในประเด็นที่ถูกหยิบมาสำรวจในเรื่องสั้น ตลอดจนงานศิลปะหลายๆ ประเภทอยู่เสมอ เช่นเดียวกับ ‘รักในลวง’ รวมเรื่องสั้นลำดับล่าสุดของ จิรัฏฐ์ ประเสิรฐทรัพย์ ที่วิพากษ์วิจารณ์จักรวาลของชนชั้นกลางหลายมิติ ผ่านสายตาของ อาทิตย์ ศรีจันทร์

อาทิตย์ ศรีจันทร์

3 Jul 2023

Life & Culture

28 Jun 2023

‘แผลเก่า’ แห่งทุ่งบางกะปิ ร่องรอยการชนกันของชนชั้น เมือง และชนบทหลังปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงปฐมวรรณกรรมแนวสามัญชน ‘แผลเก่า’ ของ ‘ไม้ เมืองเดิม’ ที่ดำเนินเรื่องบนความขัดแย้งของเมืองและชนบท สอดแทรกสารทางการเมืองยุคหลังอภิวัฒน์สยาม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

28 Jun 2023

Life & Culture

28 Jun 2023

ทะเลเพลิง-แสงจันทร์ All the Light We Cannot See

‘นรา’ แนะนำให้อ่าน ‘ดั่งแสงสิ้นแรงฉาน’ (All the Light We Cannot See) นิยาย Best Seller ของแอนโทนี ดัวร์ ว่าด้วยเรื่องราวของสองตัวละคร ผู้ถูกกระทำและผู้รุกรานในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง

นรา

28 Jun 2023

Politics

23 Jun 2023

หนังสือปฏิวัติ 2475 ที่ปรีดี พนมยงค์ แนะนำให้อ่าน

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงหนังสือสองเล่มที่ปรีดี พนมยงค์ แนะนำว่าเป็นหลักฐานชั้นต้นของหน้าประวัติศาสตร์อภิวัฒน์สยาม 2475

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

23 Jun 2023

Books

4 Jun 2023

“ผมเป็นปีศาจที่แปรเปลี่ยนไปตามกาลเวลา” เมื่อสาย สีมา มีอันต้องไปปราบคอมมิวนิสต์

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึง ‘สาย ศรีสะเกษ’ บุคคลที่กล่าวกันว่าเป็นต้นแบบของตัวละคร ‘สาย สีมา’ ในอมตะนิยาย ‘ปีศาจ’ ของเสนีย์ เสาวพงศ์ แม้ ‘สาย สีมา’ ในนิยาย มักถูกหยิบยกมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของฝ่ายซ้าย แต่ ‘สาย’ นอกหนังสือ เขาคือข้าราชการผู้วุ่นวายอยู่กับการปราบปรามคอมมิวนิสต์

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

4 Jun 2023

Life & Culture

30 May 2023

“ให่ข้อยเว่าแหน่เถาะ” เสียงของผู้ถูกกดขี่ใน 2444

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘2444’ รวมเรื่องสั้นโดย มาโนช พรหมสิงห์ เล่าถึงอาชญากรรมโดยรัฐที่กระทำต่อคนตัวเล็กตัวน้อย และการต่อต้านที่ถูกแปะป้ายในนามของการเป็นกบฏตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จากรัฐสยามมาสู่รัฐไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

30 May 2023
1 3 4 5 29

MOST READ

Life & Culture

14 Mar 2024

หนังสือสามก๊ก ยุค ‘คนะราสดร’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของวรรณคดีจีน ‘สามก๊ก’ ในบรรณพิภพไทย นับตั้งแต่ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปฏิวัติ 2475 ถึงยุคปฏิวัติภาษาไทยโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Mar 2024

Life & Culture

28 Feb 2024

ระเบียบของกระแสสำนึกใน ‘พัทยาและมาหยา’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘พัทยาและมาหยา’ นวนิยายกระแสสำนึกของ ลาดิด (Ladys) ที่แม้จะพูดเรื่องความเว้าแหว่ง ไม่สมบูรณ์ของความทรงจำและความสัมพันธ์อันเป็นเรื่องยอดนิยมในงานวรรณกรรมไทย แต่สิ่งที่ทำให้ ‘พัทยาและมาหยา’ โดดเด่นสำหรับอาทิตย์คือการเลือกใช้เครื่องมือการเล่าเรื่องอันหลากหลายและชวนจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Feb 2024

Books

13 Mar 2024

150 ปี ‘ดรุโณวาท’ : สิ่งพิมพ์ของยุวชนชั้นนำและคำสอนของคนหนุ่มสยาม ในยุคแสวงหาอำนาจแบบอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ดรุโณวาท’ หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยคนไทยฉบับแรก ซึ่งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงของเหล่าสยามหนุ่มในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อทางอำนาจของรัชกาลที่ 5

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save