fbpx

Life & Culture

17 Nov 2021

ข้างหลังภาพของสี่แผ่นดิน นิยายแห่งยุคสมัย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงวรรณกรรมสองเล่มที่เป็นภาพแทนอุดมการณ์อันแตกต่างคือ ข้างหลังภาพ และ สี่แผ่นดิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Nov 2021

Life & Culture

29 Oct 2021

ลาไล : โควิดและภูมิภาคนิยมของนักเขียนใต้

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงรวมเรื่องสั้น ‘ลาไล’ ของ จำลอง ฝั่งชลจิตร ในฐานะ ‘บันทึกสภาพสังคมไทยในยุคโรคระบาด’ ที่ไม่ได้เพียงแค่สะท้อนวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของคนไทย แต่ยังฉายภาพไปถึงสภาพสังคมของคนใต้ที่เปลี่ยนแปลงไปในวันที่ ‘ความเป็นเมืองแบบชนชั้นกลาง’ เข้ามาเยือน

อาทิตย์ ศรีจันทร์

29 Oct 2021

Life & Culture

26 Oct 2021

จาก 1984 ถึง 2021 วรรณกรรม ‘ดิสโทเปีย’ บอกอะไรกับเรา – คารินา โชติรวี

101 ชวน ผศ.ดร.คารินา โชติรวี อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาสนทนาว่าด้วยวรรณกรรมยูโทเปียและดิสโทเปีย สำรวจลักษณะและองค์ประกอบของโลกสมมติทั้งสองแบบ และทบทวนสิ่งที่วรรณกรรมอาจบอกกับเรา

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Oct 2021

Life & Culture

26 Oct 2021

ความสุขของคนหัวใจสลาย The Museum of Innocence

‘นรา’ เขียนถึง The Museum of Innocence ‘พิพิธภัณฑ์แห่งความไร้เดียงสา’ ของออร์ฮาน ปามุก ที่เล่าเรื่องราวความรักควบคู่ไปกับสะท้อนภาพสังคมตุรกีช่วงทศวรรษ 1970

นรา

26 Oct 2021

Books

20 Oct 2021

โลกในมือนักอ่าน ตอนที่ 3 จบ

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงหนังสือโลกในมือนักอ่าน ตอนที่ 3 เมื่อหนังสือมีส่วนสำคัญในประวัติศาสตร์มนุษย์และการอ่าน-เขียนกลายเป็นสิ่งจำเป็นในปัจจุบัน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

20 Oct 2021

Life & Culture

18 Oct 2021

‘ความตายของโกโบริ’ กับ ‘ฆาตกรที่ชื่ออังศุมาลิน’ : คู่กรรมบนถนนสังคมการเมืองไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนอ่าน ‘คู่กรรม’  ผ่านตัวบทและบริบทสังคมไทยในแต่ละยุคสมัย เนื้อหาของคู่กรรมทาบทับกับการเมืองไทยอย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Oct 2021

Life & Culture

12 Oct 2021

“อย่าผูกขาดความหวังดี” ศรีสมร โซเฟร กับเมล็ดพันธุ์อันหลากหลายในหนังสือเด็ก

101 พูดคุยกับ ศรีสมร โซเฟร บรรณาธิการวาดหวังหนังสือ ถึงวิธีคิดในการจัดทำหนังสือนิทานและความฝันของเธอที่หวังสร้างความหลากหลายในโลกการอ่าน

วจนา วรรลยางกูร

12 Oct 2021

Life & Culture

6 Oct 2021

โลกในมือนักอ่าน A History of Reading ตอนที่ 2 วาดหวังหนังสือ

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงหนังสือ ‘โลกในมือนักอ่าน’ ที่เล่าถึงประวัติศาสตร์ของการอ่านและหนังสือเด็ก 4 เล่มของ ‘วาดหวังหนังสือ’

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

6 Oct 2021

Life & Culture

4 Oct 2021

“You’re not listening” คนเหงาเพราะเราไม่ฟังกัน

ในยุคที่ศิลปะแห่งการฟังกำลังสูญหาย กิตติพงษ์ เรือนทิพย์ ชวนคุณอ่าน ‘You’re Not Listening: What You’re Missing & Why it Matters’ โดย เคท เมอร์ฟี หนังสือที่จะทำให้คุณรู้ว่าการฟังสำคัญเพียงใด

กิตติพงษ์ เรือนทิพย์

4 Oct 2021

Life & Culture

4 Oct 2021

ร้านหนังสือ 24 ชั่วโมงสุดท้าย : อดีต/ปัจจุบัน และ อดีตของชนชั้นกลาง

อาทิตย์ ศรีจันทร์ วิจารณ์นวนิยาย ‘ร้านหนังสือ 24 ชั่วโมงสุดท้าย’ ของกิตติศักดิ์ คงคา วรรณกรรมที่ว่าด้วยการกลับไปแก้ไขอดีตเพื่อเยียวยาความทุกข์โศกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และตั้งข้อสังเกตถึงการคร่ำครวญอดีตของ ‘คนชนชั้นกลาง’

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 Oct 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

เปิดความเห็นของนักอ่าน ใน ‘ความน่าจะอ่าน ขวัญใจมหาชน 2021’

รวมความเห็นจากนักอ่านที่ร่วมโหวต ‘ความน่าจะอ่านขวัญใจมหาชน 2021’ พร้อมประกาศผลหนังสือที่ได้รับการโหวตสูงสุดจากนักอ่าน

กองบรรณาธิการ

28 Sep 2021

World

27 Sep 2021

ความทรงจำของลมหายใจที่ถูกเนรเทศ

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงเรื่องราวชีวิตของ ‘จีนเป็ง’ ผ่านหนังสือ ‘ประวัติศาสตร์คู่ขนาน เรื่องเล่าเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา’ หรือบันทึกความทรงจำของจีนเป็งเอง

แมท ช่างสุพรรณ

27 Sep 2021
1 10 11 12 29

MOST READ

Life & Culture

14 Mar 2024

หนังสือสามก๊ก ยุค ‘คนะราสดร’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของวรรณคดีจีน ‘สามก๊ก’ ในบรรณพิภพไทย นับตั้งแต่ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปฏิวัติ 2475 ถึงยุคปฏิวัติภาษาไทยโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Mar 2024

Life & Culture

28 Feb 2024

ระเบียบของกระแสสำนึกใน ‘พัทยาและมาหยา’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘พัทยาและมาหยา’ นวนิยายกระแสสำนึกของ ลาดิด (Ladys) ที่แม้จะพูดเรื่องความเว้าแหว่ง ไม่สมบูรณ์ของความทรงจำและความสัมพันธ์อันเป็นเรื่องยอดนิยมในงานวรรณกรรมไทย แต่สิ่งที่ทำให้ ‘พัทยาและมาหยา’ โดดเด่นสำหรับอาทิตย์คือการเลือกใช้เครื่องมือการเล่าเรื่องอันหลากหลายและชวนจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Feb 2024

Books

13 Mar 2024

150 ปี ‘ดรุโณวาท’ : สิ่งพิมพ์ของยุวชนชั้นนำและคำสอนของคนหนุ่มสยาม ในยุคแสวงหาอำนาจแบบอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ดรุโณวาท’ หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยคนไทยฉบับแรก ซึ่งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงของเหล่าสยามหนุ่มในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อทางอำนาจของรัชกาลที่ 5

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save