fbpx

Politics

31 Oct 2022

การต่อสู้ที่ไม่จบสิ้นของ ‘วิญญัติ ชาติมนตรี’ ทนายจำเลยคดีการเมืองในโลกสองมาตรฐาน

101 พูดคุยกับวิญญัติ ชาติมนตรี ถึงชีวิตที่ผ่านมาของเขาตั้งแต่ก่อนเข้าสู่โลกกฎหมายและจุดเปลี่ยนแปลงในชีวิตทนายความที่เริ่มมาทำคดีการเมืองอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

31 Oct 2022

Politics

21 Oct 2022

นายกรัฐมนตรีย่อมดำรงตำแหน่ง ‘นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง’

ธนันท์ ชาลดารีพันธ์ ชวนลองตีความมาตรา 158 เรื่องวาระดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 8 ปี

ธนันท์ ชาลดารีพันธ์

21 Oct 2022

Politics

19 Oct 2022

ประเทศไทยไม่ต้องการศาลรัฐธรรมนูญ

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญไทย โดยเฉพาะบทบาทในการปกป้องคุณค่าประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน

มุนินทร์ พงศาปาน

19 Oct 2022

Politics

16 Oct 2022

คดีความผิดมาตรา 112 กับกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไปไม่ค่อยเป็น

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองอาการ ‘ไปไม่เป็น’ ของกระบวนการยุติธรรม เมื่อเผชิญกับคดี 112 จนทำให้มีการพิจารณาคดีที่ไม่เป็นไปตามหลักกฎหมาย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

16 Oct 2022

Law

10 Oct 2022

อำนาจ กสทช. ในการพิจารณาการควบบริษัททรูและดีแทค

ณรงค์เดช สรุโฆษิต เปิดข้อกฎหมายซึ่งยืนยันว่า กสทช. มีอำนาจในการพิจารณา อนุญาต หรือสั่งห้ามการควบรวมทรู-ดีแทคได้

ณรงค์เดช สรุโฆษิต

10 Oct 2022

Politics

6 Oct 2022

ที่นี่มีคนตาย (แต่ไม่มีคนผิด?) : ความหวาดกลัวของรัฐลอยนวลกับการลงนาม ICC

101 ชวนทำความเข้าใจเรื่อง ICC โอกาสในการยื่นคดีให้พิจารณา เหตุผลที่ต้องให้สัตยาบัน ข้อถกเถียงเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ และอุปสรรคที่ทำให้เรื่องนี้ยังไม่สำเร็จ

วจนา วรรลยางกูร

6 Oct 2022

Politics

3 Oct 2022

ข้อพิจารณาบางประการเกี่ยวกับอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ

วิษณุ วรัญญู ชวนมองข้อถกเถียงเรื่อง ‘อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ’ เมื่อการใช้อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญอย่างถูกต้องตามหลักการเป็นเงื่อนไขปัจจัยประการหนึ่งที่ทำให้รัฐธรรมนูญที่สถาปนาขึ้นมีความชอบธรรมและได้รับการเคารพปฏิบัติตาม

วิษณุ วรัญญู

3 Oct 2022

Politics

20 Sep 2022

ตีความอย่างไรให้เป็นนายกรัฐมนตรีได้เกิน 8 ปี

มุนินทร์ พงศาปาน อธิบายหลักการตีความกฎหมายลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้มองคำอธิบายของผู้ที่ตีความว่าพลเอกประยุทธ์สามารถอยู่ได้เกิน 8 ปี

มุนินทร์ พงศาปาน

20 Sep 2022

Law

25 Aug 2022

กฎหมายยาเสพติดใหม่: 8 เดือนของการบังคับใช้ในภาวะที่ยังไร้กฎหมายลูก กับ ภูวิชชชญา เหลืองธีรกุล

101 คุยกับอัยการ ภูวิชชชญา เหลืองธีรกุล ถึงประโยชน์และช่องว่างที่พบในการบังคับใช้กฎหมายยาเสพติดฉบับใหม่ตลอด 8 เดือนที่ผ่านมา

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

25 Aug 2022

Politics

10 Aug 2022

อันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตีความรัฐธรรมนูญเรื่องสถานะ ‘อันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้’ ของพระมหากษัตริย์ และการดำรงอยู่ของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

10 Aug 2022

Politics

20 Jul 2022

ถึงเวลาเปลี่ยนรูปแบบคำพิพากษา จาก ‘อำนาจนิยม’ เป็น ‘เหตุผลนิยม’

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณารูปแบบการเขียนคำพิพากษาและคำสั่งของศาลไทยที่สั้นจนดูเหมือนจะเน้นไปที่ ‘ผล’ หรือ ‘ธงคำตอบ’ มากกว่า ‘เหตุผลในทางกฎหมาย’

มุนินทร์ พงศาปาน

20 Jul 2022

Politics

17 Jul 2022

“เพราะนักกฎหมายต้องเข้าใจบริบทของสังคม” อ่าน 6 ข้อเสนอปฏิรูปนิติศาสตร์ไทยให้ก้าวไกลทันโลก

101 ชวนรับฟังข้อเสนอปฏิรูปนิติศาสตร์จากคนหลายแวดวง เพื่อหาทางนำไปสู่การสร้างกระบวนการยุติธรรมที่ไม่ใช่แค่กระบวนการ แต่เป็นสิ่งที่มอบความยุติธรรมได้อย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ

17 Jul 2022

Politics

12 Jul 2022

ทำไมผู้พิพากษาจึงบิดเบือนการใช้กฎหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิเคราะห์ว่ามีเหตุใดบ้างที่จะทำให้เกิดกรณีการตัดสินผิดพลาดของผู้พิพากษา ทั้งเรื่องความเป็นอิสระ ความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระทั่งเรื่องอุดมการณ์ที่ครอบงำ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jul 2022
1 4 5 6 16

MOST READ

Law

6 Mar 2024

บทบาทของเนติบัณฑิตหญิงคนแรกในการจัดทำกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ของไทย

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนมองบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ในการยกร่างกฎหมายครอบครัว ท่ามกลางบรรยากาศที่กระบวนการร่างกฎหมายอยู่ในมือของผู้ชายเป็นส่วนใหญ่

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์

6 Mar 2024

Law

4 Mar 2024

ปัญหาของ 112 กับการเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองพื้นฐานเรื่องความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ และชวนพิจารณาถึงปัญหาของมาตรา 112 ในสถานะการเป็นความผิดต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

4 Mar 2024

Politics

4 Mar 2024

“อาชญากรรมไม่มีวันหายไป เพราะมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่เลวร้ายโดยสภาพ” กฎหมายและการลงทัณฑ์: รณกรณ์ บุญมี

กฎหมายนับเป็นหนึ่งในกลไกหลักของสังคม ที่ทำหน้าที่จัดระเบียบและสร้างความเป็นธรรม กระนั้น ในวันที่เรารู้สึกไม่ปลอดภัยจากสังคม การเพิ่มโทษและความรุนแรงคือคำตอบของเงื่อนปมนี้หรือไม่ และความรุนแรงหนักหน่วงที่ว่านี้จะไปด้วยกันอย่างไรในโลกสมัยใหม่ที่เน้นเรื่องมนุษยธรรม

101 สนทนากับ ดร. รณกรณ์ บุญมี ว่าด้วยปรัชญาของกฎหมายอาญา

พิมพ์ชนก พุกสุข

4 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save