fbpx

Global Affairs

3 Oct 2023

ขั้วโลกเหนือ ตอนที่ 1: จากความเงียบงันสู่การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์

ปิติ ศรีแสงนาม เล่าถึงพื้นที่ ‘ขั้วโลกเหนือ’ ที่กำลังเป็นอีกหนึ่งสมรภูมิการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างชาติมหาอำนาจ

ปิติ ศรีแสงนาม

3 Oct 2023

World

22 Sep 2023

การเมืองเรื่องไอโฟน 15: ตัวประกันคนสำคัญ

คอลัมน​์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ว่าด้วยการเปิดตัวของไอโฟน 15 ที่อาจกลายเป็นตัวประกันสำคัญของความสัมพันธ์ทางการเมืองสหรัฐ-จีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

22 Sep 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

13 Sep 2023

ยิ่งเปลี่ยน ยิ่งเหมือนเดิม ? : ความท้าทายและทิศทางการต่างประเทศไทยในรัฐบาลใหม่

101 ชวนย้อนมองการต่างประเทศไทยตลอด 9 ปีที่ผ่านมาภายใต้รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประเมินความท้าทายที่ไทยกำลังเผชิญ และฟังข้อเสนอจากผู้เชี่ยวชาญถึงทิศทางการต่างประเทศภายใต้รัฐบาลใหม่ที่นำโดยพรรคเพื่อไทย โจทย์อะไรบ้างที่รัฐบาลต้องนำไปขบคิด

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

13 Sep 2023

World

11 Aug 2023

13 บุปผาแห่งนานกิง : สงครามมิเคยสร้างวีรสตรีหรือวีรบุรุษ มีเพียงแต่ทำให้มนุษย์กลายเป็นปีศาจ

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ เขียนถึงหนังสือ ’13 บุปผาแห่งนานกิง’ กับโศกนาฏกรรมครั้งประวัติศาสตร์ที่ถูกเรียกขานว่า ‘เหตุการณ์สังหารหมู่นานกิง’

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

11 Aug 2023

Life & Culture

2 Aug 2023

‘ตำนานประตูหัตถ์พระเจ้า’ ว่าด้วยฟุตบอลโลก การเมืองไทย และการโกงที่โด่งดังที่สุดในโลก

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ประวัติศาสตร์การโกงที่โด่งดังที่สุดในโลก ที่อาจสะท้อนภาพฉากทัศน์ของการเมืองไทยในตอนนี้ได้ดีไม่น้อย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

2 Aug 2023

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

World

15 Jun 2023

ยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคง: จะไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดหรือฝักใฝ่ไปเสียทุกฝ่ายดี?

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคงของไทย เมื่อมีรัฐบาลใหม่แล้วควรใช้ยุทธศาสตร์แบบใด

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

15 Jun 2023

World

12 Jun 2023

100 ปี เฮนรี คิสซินเจอร์: ร่องรอยความคิดของ ‘บุรุษสงครามเย็น’ ในระเบียบโลก

คิสซินเจอร์ ‘คิด’ ต่อความเป็นไปของโลกตลอดเวลาที่ผ่านมาอย่างไร? โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบไหนที่คิสซินเจอร์ตั้งไว้? อะไรคือมรดกทางความคิดที่คิสซินเจอร์ฝากไว้ในโลกการเมืองระหว่างประเทศ? และเราควรทำความเข้าใจคิสซินเจอร์ด้วยหมวกใบไหนกันแน่?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jun 2023

World

6 Jun 2023

การประชุมสุดยอดผู้นำ G7 ที่ฮิโรชิมา ฉบับภาคประชาชน

สุภา ปัทมานันท์เขียนถึงเนื้อหาการประชุมสุดยอดผู้นำ G7 ที่ฮิโรชิมา 2023 และบาดแผลจากนิวเคลียร์ที่ผู้นำควรเรียนรู้

สุภา ปัทมานันท์

6 Jun 2023

World

23 May 2023

เมื่อความบังเอิญสร้างปาฏิหาริย์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงที่ทางของ ‘ปาฏิหาริย์’ และ ‘ความบังเอิญ’ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอะไรคือนัยสำคัญของแนวคิดทั้งสองในการทำความเข้าใจประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพื่อสนทนากับหนังสือ “ปาฏิหาริย์นั้นมีจริง : ความบังเอิญของไทยในการเอาตัวรอดจากอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

23 May 2023

Global Affairs

25 Apr 2023

ความเป็นจริงข้างไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอหลักคิดในการเริ่มต้นอ่านทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ เพื่อหาคำตอบว่าเราจะศึกษาทฤษฎีที่เต็มไปด้วยความอลหม่านอย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

25 Apr 2023

World

18 Apr 2023

ส่องนโยบายการค้าการลงทุนประเทศคู่แข่งไทย ท่ามกลางสมรภูมิสงครามการค้าสหรัฐฯ กับจีน

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง การปรับนโยบายการค้าและการลงทุนของประเทศต่างๆ ในเอเชีย เช่น เวียดนาม อินเดีย เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ หลังสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐฯ นำไปสู่ความตึงเครียดและความเสี่ยงในการลงทุนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับนโยบายของจีนเพื่อรับมือต่อสงครามการค้า

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

18 Apr 2023

Global Affairs

3 Apr 2023

เรื่องน่ายินดี (?) ท่ามกลางความขัดแย้งภูมิศาสตร์โลกบาดาล

ปิติ ศรีแสงนาม พูดถึงสนธิสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยทะเลหลวง ที่เพิ่งสามารถสรุปผลเจรจา ซึ่งจะเป็นหมุดหมายสำคัญในการจัดการความขัดแย้งทางภูมิศาสตร์โลกบาดาล

ปิติ ศรีแสงนาม

3 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อนาคตร่วม: วิสัยทัศน์สหภาพยุโรป อาเซียน และไทยต่อ ‘อินโด-แปซิฟิก’

101 ชวนทบทวนถึงวิสัยทัศน์และประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปสำหรับความร่วมมือในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ตลอดจนถึงผลลัพธ์ต่อไทยและอาเซียน ในยุคสมัยที่อินโด-แปซิฟิกคืออนาคตร่วมของนานาประเทศทั่วโลก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2023
1 2 3 16

RECOMMENDED

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Asean

23 Apr 2024

น้ำตาเถ้าแก่ – กรณี ‘ถุงเท้าปักพระนามอัลลอฮ์’ กับยุทธศาสตร์ความอยู่รอดของนักธุรกิจเชื้อสายจีนในมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่ากระแสข่าวการแห่บอยคอต KK Mart ธุรกิจร้านสะดวกซื้อดังในมาเลเซียของนักธุรกิจเชื้อสายจีน จากการวางขายถุงเท้าปักชื่ออัลลอฮ์

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

23 Apr 2024

101 Side-Seeing

2 Apr 2024

101 Side-Seeing Ep.6 : ชวนนั่ง ‘WHOOSH’ รถไฟความเร็วสูงสายแรกของอินโดนีเซียและอาเซียน

101 Side-seeing ตอนนี้ พาไปสัมผัสอีกขั้นแห่งความเร็ว กับ Whoosh ขบวนรถไฟความเร็วสูง จากต้นทางที่กรุงจาการ์ตา ไปจนถึงเมืองบันดุง บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยความเร็วสูงสุด 350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จึงนับได้ว่าเป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงสายแรกที่แท้จริงของอินโดนีเซียและอาเซียน

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save