fbpx

World

6 Dec 2022

‘ยูเครน’ ผ่านม้วนฟิล์มของ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีจากยูเครนตะวันออก

แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Dec 2022

World

5 Dec 2022

Food Banks ที่พึ่งคนยากไร้ในยามฝืดเคือง ฟันเฟืองที่ขับเคลื่อนด้วยพลังเหล่าเอ็นจีโอ

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสถานการณ์ปากท้องชาวอังกฤษ ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจ ทำให้ความต้องการ ธนาคารอาหาร โดยเอ็นจีโอมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

สมชัย สุวรรณบรรณ

5 Dec 2022

World

21 Nov 2022

นอร์ดิกในยุคโรแมนติก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนเล่าถึงช่วงเวลาการสร้างประวัติศาสตร์ชาตินิยมโรแมนติกของแถบนอร์ดิก ที่ขยับขยายขอบเขตข้ามเส้นแบ่งประเทศผ่านงานเขียนและการแปล

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Nov 2022

World

25 Oct 2022

สปุตนิกแถวขั้วโลกเหนือ

ในฐานะที่นอร์เวย์มีพรมแดนติดกับสหภาพโซเวียตเกือบ 200 กิโลเมตร จึงเลี่ยงไม่ได้ที่มันจะกลายเป็นสมรภูมิสำคัญเมื่อโลกเดินทางมาถึงช่วงสงครามเย็น สะท้อนผ่านการขับเคี่ยวทั้งทางด้านการเมืองและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีในเวลานั้น

ปรีดี หงษ์สต้น

25 Oct 2022

Europe

25 Oct 2022

ฉลองครบรอบ 100 ปี BBC กับรอยแผลเก่าที่ยังลืมไม่ลง

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสื่อสาธารณะในวาระครบรอบ 100 ปี BBC ทบทวนการทำงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และข่าวอื้อฉาวที่ยังลืมไม่ลง

สมชัย สุวรรณบรรณ

25 Oct 2022

World

18 Oct 2022

เมื่อสหายหิว: ความล้มเหลวทางอาหารในเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

18 Oct 2022

World

4 Oct 2022

‘After Elizabeth’ สหราชอาณาจักรในสายลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน กับ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

ในช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่าน 101 ชวน พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง สนทนาและวิเคราะห์บทบาทและมรดกจากยุคสมัยของควีนเอลิซาเบธที่ 2 วิถีการดำรงอยู่ของสถาบันกษัตริย์อังกฤษในโลกสมัยใหม่ กระแสสาธารณรัฐนิยมในอังกฤษ ความเป็นไปได้ในการแยกตัวออกจากสหราชอาณาจักรของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ ไปจนถึงทางออกจากยุคสมัย ‘ขาลง’ ของสหราชอาณาจักร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

4 Oct 2022

Europe

28 Sep 2022

จาก God Save the Queen สู่ God Save the King : การเปลี่ยนบทเพลงสรรเสริญพระบารมีในรอบ 70 ปี

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงที่มาของเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร และการเปลี่ยนเนื้อเพลงสำหรับกษัตริย์องค์ใหม่

สมชัย สุวรรณบรรณ

28 Sep 2022

World

26 Sep 2022

ยุคทองของเดนมาร์ก (The Danish Golden Age)

เดนมาร์กในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นับเป็นหนึ่งในยุคทองที่น่าจับตา เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหวทั้งในเชิงการเมือง สังคมตลอดจนศิลปะ หากแต่ในมุมกลับ มันได้ซ่อนวิกฤตบางประการไว้เช่นกัน

ปรีดี หงษ์สต้น

26 Sep 2022

Europe

19 Sep 2022

Train «Kyiv–War» ความหวังสู่ ‘สันติภาพ’ บนเส้นทางสู่ ‘สงคราม’

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล เขียนถึงสารคดี Train «Kyiv–War» สารคดีที่บันทึกห้วงความคิดและความหวังของชาวยูเครนต่อสงครามดอนบาสในภาคตะวันออกของยูเครน บนขบวนรถไฟที่มุ่งหน้าสู่สงคราม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Sep 2022

World

12 Sep 2022

เลือกตั้งอิตาลี 2022: เมื่อกระแสนำ ‘ฝ่ายขวาสุดโต่ง’ สั่นสะเทือนยุโรป

การลาออกของนายกรัฐมนตรี Mario Draghi ส่งผลสะเทือนอย่างไร? ภูมิทัศน์สนามการเมืองอิตาลีกำลังเปลี่ยนไปอย่างไรบ้างในการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง? และหากพรรคขวาสุดโต่งกำลังจ่อเข้าสู่อำนาจเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลได้จริง ชะตากรรมของการเมือง ประชาธิปไตย และความมั่นคงของสหภาพยุโรปในอนาคตจะเป็นอย่างไร? มุนินทร วัฒนายากร วิเคราะห์ ‘การเมืองอิตาลี’ และ ‘อนาคตของยุโรป’ ในการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง

มุนินทร วัฒนายากร

12 Sep 2022

World

9 Sep 2022

ก่อนสิ้นรัชสมัย

ในวาระการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนมองภาพการจัดวางตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษในพื้นที่การต่างประเทศช่วงเปลี่ยนผ่านยุคจักรวรรดินิยม ผ่านพลังทางวัฒนธรรมและสายสัมพันธ์ทางจิตใจและความรู้สึก จากข้อเขียนของ Alastair Stewart

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

9 Sep 2022

World

7 Sep 2022

‘อดอยากปากจมน้ำ’ ชีวิตในอนาคตอันใกล้ (ฉาก 1)

นิติ ภวัครพันธุ์ เล่าถึงการแก้ปัญหาเมืองจมน้ำอย่างยั่งยืนของเนเธอร์แลนด์ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างประตูกั้นน้ำขนาดยักษ์, การออกแบบบ้านเรือน ไปจนถึงการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อรองรับปัญหาที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Sep 2022

Europe

30 Aug 2022

ส.ส. อังกฤษสอบตกเพราะแก้ปัญหาหนี้สินการศึกษาให้ประชาชนไม่ได้

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงกรณี ส.ส. อังกฤษแพ้เลือกตั้ง เพราะไม่สามารถรักษาสัญญาแก้ไขปัญหาหนี้สินการศึกษาให้กับประชาชนได้

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Aug 2022

World

21 Aug 2022

การคลี่คลายของสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวีย

สำรวจสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวียที่มีลักษณะเฉพาะตัวบางประการ ทำให้มีลักษณะคลี่คลายตนเองได้มากกว่าสถาบันครอบครัวในภูมิประเทศอื่นๆ ชวนอ่านคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น ว่าด้วยรากฐานการก่อร่างสร้างสถาบันครอบครัวในแถบนอร์ดิค

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Aug 2022
1 3 4 5 14

RECOMMENDED

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save