fbpx

Economy

22 Sep 2020

ยิ่งจน ยิ่งเจ็บ: ราคาที่ต้องจ่ายของการป้องกันโรคระบาด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง ‘ความเสี่ยง’ และ ‘ต้นทุน’ ของมาตรการป้องกันโรคระบาด ซึ่ง ‘คนจน’ คือผู้แบกรับมากที่สุด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

22 Sep 2020

Economic Focus

14 Sep 2020

ดิจิทัลเอย เจ้ามาแรงชั่วคราวหรืออยู่ยาวถาวร? อ่านอนาคตเศรษฐกิจดิจิทัลหลังโควิด-19

สันติธาร เสถียรไทย ชวนอ่านกระแสเศรษฐกิจดิจิทัลหลังโควิด-19 พร้อมชวนมองปรากฏการณ์ดิจิทัลทรานฟอร์เมชันทั้งในระดับปัจเจกและภาคธุรกิจที่ยังคงก้าวต่อไปข้างหน้า

สันติธาร เสถียรไทย

14 Sep 2020

Economic Focus

7 Sep 2020

Fed กับกรอบนโยบายการเงินแนวใหม่ : รู้ว่าเสี่ยงก็ยังต้องขอลอง

กรอบนโยบายการเงินแนวใหม่ของ Fed มีนัยสำคัญอย่างไรต่อระบบเศรษฐกิจ มันช่วยแก้ปัญหาหรือจะเป็นระเบิดเวลาในอนาคต – พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ชวนถก

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

7 Sep 2020

Global Affairs

2 Sep 2020

ระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลง ไทยต้องเผชิญหน้ากับอะไร?

ปิติ ศรีแสงนาม เปิดผลงานวิจัยเกี่ยวกับสถานการณ์และฉากทัศน์ของการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลกใหม่ เพื่อดูว่าระเบียบโลกจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด และไทยจะอยู่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้อย่างไรบ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม

2 Sep 2020

Economic Focus

1 Sep 2020

ความเสี่ยงที่มากับวิถีการลงทุนใหม่ในยุคโควิด

วิมุต วานิชเจริญธรรม สำรวจโลกการลงทุนในยุคโควิด-19 พร้อมชี้ให้เห็นว่า เงินคริปโตเป็นทั้งวิถีการลงทุนของคนรุ่นใหม่ที่เปิดโอกาสในการสร้างความมั่งคั่งมากขึ้น แต่ก็เป็นความเสี่ยงที่ต้องระมัดระวังยิ่งกว่าเดิม

วิมุต วานิชเจริญธรรม

1 Sep 2020

Political Economy

31 Aug 2020

ข้อเสนอ Platform State เก้าประเด็นหารือเรื่องรื้อรัฐไทย

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เสนอแนวคิด ‘Platform State’ ในฐานะโมเดลการพัฒนาแบบใหม่ที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างแท้จริง

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

31 Aug 2020

Economic Focus

10 Aug 2020

จาก ‘บาซูก้า’ สู่ ‘สมาร์ตบอมบ์’ – ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจสำหรับศึกโควิด-19 ที่ยืดเยื้อ

หลังจากไทยยิงบาซูก้าการคลังไปแล้ว สันติธาร เสถียรไทย เสนอให้ใช้ยุทธศาสตร์ ‘สมาร์ตบอร์ม’ แก้ปัญหาอย่างแม่นยำ โดยใช้นโยบยาเลือกเปิด/ปิดเมืองและการท่องเที่ยงต่างประเทศเฉพาะพื้นที่ รวมถึงใช้นโยบายการเงิน-การคลังเฉพาะจุด

สันติธาร เสถียรไทย

10 Aug 2020

Projects

4 Aug 2020

ความเสมอภาคทางการศึกษา The Great Gatsby Curve และทุนมนุษย์ของไทย

วิมุต วานิชเจริญธรรม ไขปริศนาว่า เหตุใดการก้าวข้ามชีวิตคนจนขึ้นมาเป็นมหาเศรษฐีนั้นแทบเป็นไปไม่ได้เลยในสังคมที่เหลื่อมล้ำสูง

วิมุต วานิชเจริญธรรม

4 Aug 2020

Spotlights

30 Jul 2020

มองอนาคตโลกการทำงาน กับ ธนา เธียรอัจฉริยะ

101 ชวนสนทนากับ ธนา เธียรอัจฉริยะ ถึงเรื่องการทำงานของคนรุ่นใหม่ ทัศนคติต่องานของเจเนอเรชันล่าสุด และการจัดการบริหารองค์กรให้สอดคล้องกับโลกที่เปลี่ยนไป

กองบรรณาธิการ

30 Jul 2020

Happy Family

29 Jul 2020

ที่ของคนสูงวัย – ที่ของ AI – ที่ของครอบครัว : ที่ทำงานในอนาคต

101 ชวนมองภาพ ‘ที่ทำงานในอนาคต’ ที่เปลี่ยนไปจากกระแสสังคมสูงวัย การเข้ามาของ AI ในโลกการทำงาน และสวัสดิการครอบครัวที่ต้องปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

29 Jul 2020

Spotlights

27 Jul 2020

โลกการทำงานแบบ ‘Generation Flex’ : เมื่อคน (ทำ) งาน คือ ผู้กำหนดอนาคตการทำงาน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เขียนถึงโลกการทำงานที่ ‘Generation Flex’ หรือกลุ่มคนทำงาน จะเข้ามามีบทบาทในการกำหนดอนาคตการทำงานมากขึ้น

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

27 Jul 2020

Spotlights

24 Jul 2020

เมื่อที่ทำงานไม่ได้มีแค่ออฟฟิศ มนุษย์ทำงานที่ไหนในภาพใหญ่เศรษฐกิจ

วรรษกร สาระกุล สำรวจข้อมูลภาพใหญ่ว่ามนุษย์ทำงานอยู่ที่ไหนกันบ้าง และชี้ให้เห็นว่าการทำงานแบบใน ‘สำนักงาน’ มีประวัติศาสตร์สั้นมากในช่วงเวลาของมนุษยชาติ และการพูดถึง ‘สำนักงาน’ ยังไม่ได้นับรวมคนทำงานอีกครึ่งหนึ่งของโลก

วรรษกร สาระกุล

24 Jul 2020

Spotlights

23 Jul 2020

ในความมืดมีแสงสว่าง : คุยกับ 2 ผู้ประกอบการที่พา ‘คนทำงาน’ และ ‘ธุรกิจ’ สู้วิกฤตไปด้วยกัน

101 พาไปดูตัวอย่างธุรกิจที่ปรับตัวในวิกฤตโดยคำนึงถึงความเป็นอยู่ของคนทำงานและคุณค่าที่องค์กรให้ความสำคัญ อย่างการทำธุรกิจเพื่อชุมชน

วจนา วรรลยางกูร

23 Jul 2020
1 20 21 22 38

MOST READ

Future | Crisis

29 Feb 2024

วิถี ‘ไทยเบฟ’ กับการเติบโตกลางคลื่นลม: เจริญ – ฐาปน สิริวัฒนภักดี

101 สนทนากับ เจริญ-ฐาปน สิริวัฒนภักดี แห่งไทยเบฟเวอเรจ ถึงวิชาฝ่าวิกฤตในวิถีไทยเบฟและการปรับตัวรับมือความท้าทายใหม่ที่รอคอยอยู่ในอนาคต

กองบรรณาธิการ

29 Feb 2024

Political Economy

25 Mar 2024

ข้อโต้แย้งไทย-อินเดีย: เกิดอะไรขึ้นกันแน่ในงาน WTO ที่อาบูดาบี

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงดราม่าในที่ประชุม WTO ที่ไม่เพียงแค่สะท้อนภาพใหญ่การค้าข้าวโลก แต่ยังตั้งคำถามต่อจุดยืนของรัฐบาลไทย

Peter Ungphakorn

25 Mar 2024

Politics

25 Mar 2024

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?

วรดร เลิศรัตน์

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save