fbpx

Political Economy

17 Feb 2021

Low Profile, High Impact : สูตรลับสร้างรัฐนวัตกรรม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปมองความสำเร็จของฟินแลนด์และอิสราเอลในการสร้างรัฐนวัตกรรม ซึ่งมีปัจจัยสำคัญคือการออกแบบเชิงสถาบันให้ ‘องค์กรรัฐนวัตกรรม’ มีอิสระในการลองผิดลองถูก

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Feb 2021

Political Economy

12 Feb 2021

Marxism ตายแล้ว? : เราจะคืนชีพใหม่ให้ ‘มาร์กซ์’ ในศตวรรษที่ 21 ได้หรือไม่?

101 ถอดรหัสความคิดและมรดกของ ‘มาร์กซ์’ ผู้เสนอแนวคิดสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ผ่าน 3 มุมมองจาก เกษียร เตชะพีระ, พิชิต ลิขิตสมบูรณ์ และสรวิศ ชัยนาม ในสรุปความจากงานเสวนา “อ่านมาร์กซ์ อ่านเศรษฐกิจการเมืองไทย” เพื่อหาคำตอบว่า มาร์กซ์คิดอะไร? มาร์กซ์ยังมีชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 21 หรือไม่? และเราจะมองมาร์กซ์กับการเมืองไทยได้อย่างไรบ้าง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Feb 2021

Economic Focus

12 Feb 2021

ความสุขและความทุกข์ในเศรษฐกิจไทย

โพลบางสำนักและดัชนีเศรษฐกิจบางตัวมักชี้ว่า คนไทยกำลังมีความสุขในยุคโควิด-19 วิมุต วานิชเจริญธรรม พาไปวิเคราะห์ว่าความสุขของคนไทยนั้น ใช่ความสุขจริงหรือไม่

วิมุต วานิชเจริญธรรม

12 Feb 2021

Economic Focus

9 Feb 2021

‘เศรษฐกิจการเมืองเรื่องวัคซีน’ กับ สมชัย จิตสุชน

101 ชวน สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมและการกระจายรายได้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และคณะกรรมการบริหารสถาบันวัคซีนแห่งชาติ สนทนาทั้งเรื่องการเยียวยาเศรษฐกิจไทยและเศรษฐศาสตร์การเมืองของวัคซีน

กองบรรณาธิการ

9 Feb 2021

Trends

3 Feb 2021

GameStop : เมื่อ ‘แมงเม่าปฏิวัติ’ สะท้อนรอยร้าวในสังคม

สันติธาร เสถียรไทย ชวนอ่านปรากฏการณ์ ‘GameStop’ เมื่อแมงเม่าถล่มนักลงทุนมือโปรแห่งวอลล์สตรีท และพลิก 3 คลื่นลูกใหญ่ที่หนุนปรากฏการณ์นี้อยู่

สันติธาร เสถียรไทย

3 Feb 2021

Global Affairs

2 Feb 2021

‘Beating the Crisis’ กับ ศุภวุฒิ สายเชื้อ

101 ชวน ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ที่ปรึกษากลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม CARE วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวันที่ยากลำบากที่สุด และพาไปมองภูมิทัศน์โลกในวันที่เจอวิกฤต เพื่อทำความเข้าใจว่าความเป็นไปทั้งหลายส่งผลต่อประเทศไทยอย่างไร

กองบรรณาธิการ

2 Feb 2021

Curious Economist

29 Jan 2021

อยากให้ประชาชนไปฉีดวัคซีน? รัฐก็จ่ายเงินมาสิ!

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงปัญหาคนปฏิเสธวัคซีน และความสมเหตุสมผลเชิงนโยบายของการแก้ปัญหาด้วยมาตรการจ่ายเงินจูงใจให้คนไปรับวัคซีน

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

29 Jan 2021

Economic Focus

27 Jan 2021

ความเหลื่อมล้ำในอาชีพไรเดอร์ส่งอาหาร นิวนอร์มอลของความไม่เท่าเทียมในสังคม

ภวินทร์ เตวียนันท์ และ กัลป์ กรุยรุ่งโรจน์ พาไปวิเคราะห์ว่า เพราะเหตุใด โอกาสทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจาก
แพลตฟอร์มส่งอาหารที่บูมขึ้นมาในช่วงโควิด ถึงไม่ได้กระจายสู่แรงงานที่เข้าสู่อาชีพไรเดอร์อย่างเท่าเทียม

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

27 Jan 2021

Economic Focus

25 Jan 2021

รวยต่อไม่รอแล้วนะ! : คุยกับ ธร ปีติดล ในวันที่พิษจากโควิดผลักช่องว่างระหว่างเรากับเขาให้กว้างขึ้น

ภาวิณี คงฤทธิ์ คุยกับ ธร ปีติดล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม (CRISP) อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยปัจจัยที่ทำให้กลุ่มคน Top 1% รวยขึ้นแม้จะอยู่ท่ามกลางภาวะโรคระบาด พร้อมทั้งวิเคราะห์ว่าการจัดการโรคระบาดของภาครัฐในครั้งนี้สะท้อนลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกลุ่มทุนอย่างไร

ภาวิณี คงฤทธิ์

25 Jan 2021

Political Economy

18 Jan 2021

เหตุใดนโยบายสนับสนุน ‘โอกาสที่เท่าเทียม’ กลับบ่อนทำลายสังคม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปหาคำตอบว่า ทำไมนโยบายส่งเสริมความเท่าเทียมทางโอกาส ที่เหมือนจะดูดี กลับบ่อนทำลายสังคมและลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

18 Jan 2021

Media

15 Jan 2021

โควิดระลอกใหม่กับผู้ประกอบการที่ยังไม่ทันลืมตาอ้าปาก

หลังการระบาดระลอกใหม่ของ COVID-19 ซ้ำเติมธุรกิจของผู้ประกอบการที่ยังไม่ทันฟื้นไข้จากวิกฤตรอบแรก 101 ชวนสำรวจความคิด ความรู้สึก และวิธีปรับตัวของผู้ประกอบการที่กำลังเผชิญวิกฤตอยู่ในตอนนี้

นภสินธุ์ สามแก้วแจ่ม

15 Jan 2021

Economic Focus

15 Jan 2021

จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2021 : วัคซีน-รอยต่อระเบียบโลก-เศรษฐกิจปั่น-การเมืองป่วน

เปิดวง Round Table ชวน อาร์ม ตั้งนิรันดร  ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย  มองปี 2021 ฝ่าวิกฤตที่อาจเรียกได้ว่าใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก

กองบรรณาธิการ

15 Jan 2021

Curious Economist

13 Jan 2021

รู้จักทฤษฎีการประมูล: ออกแบบตลาดฉบับนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงทฤษฎีการประมูลของพอล อาร์. มิลกรอม และโรเบิร์ต บี. วิลสัน สองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลคนล่าสุด เพื่อทำความเข้าใจว่า การประมูลมีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากรให้กระจายสู่สาธารณะได้อย่างไร

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

13 Jan 2021

Economic Focus

13 Jan 2021

ส่องเศรษฐกิจปีวัว From Home

วิมุต วานิชเจริญธรรม วิเคราะห์ภาพเศรษฐกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในปี 2564 นี้ เริ่มจากมองบรรยากาศที่เกิดขึ้นรอบบ้านไปจนถึงภาพใหญ่ระดับประเทศ

วิมุต วานิชเจริญธรรม

13 Jan 2021

Economic Focus

4 Jan 2021

เศรษฐกิจโลก-เศรษฐกิจไทย 2020: เราไม่อาจหวนกลับสู่โลกแบบเดิมได้อีก

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา พาย้อนมองเศรษฐกิจโลก-ไทยปี 2020 ปีที่เศรษฐกิจโดนโควิด-19 เล่นงานหนักจนทำให้เศรษฐกิจไม่อาจหวนกลับมาแบบเดิมได้อีก

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

4 Jan 2021
1 18 19 20 38

MOST READ

Future | Crisis

29 Feb 2024

วิถี ‘ไทยเบฟ’ กับการเติบโตกลางคลื่นลม: เจริญ – ฐาปน สิริวัฒนภักดี

101 สนทนากับ เจริญ-ฐาปน สิริวัฒนภักดี แห่งไทยเบฟเวอเรจ ถึงวิชาฝ่าวิกฤตในวิถีไทยเบฟและการปรับตัวรับมือความท้าทายใหม่ที่รอคอยอยู่ในอนาคต

กองบรรณาธิการ

29 Feb 2024

Political Economy

25 Mar 2024

ข้อโต้แย้งไทย-อินเดีย: เกิดอะไรขึ้นกันแน่ในงาน WTO ที่อาบูดาบี

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงดราม่าในที่ประชุม WTO ที่ไม่เพียงแค่สะท้อนภาพใหญ่การค้าข้าวโลก แต่ยังตั้งคำถามต่อจุดยืนของรัฐบาลไทย

Peter Ungphakorn

25 Mar 2024

Politics

25 Mar 2024

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?

วรดร เลิศรัตน์

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save