fbpx

Economy

23 Nov 2021

ปัญหาชิปขาดตลาด ผลสะเทือนต่อภูมิรัฐศาสตร์โลก

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ วิเคราะห์ปัญหาชิปขาดตลาด ที่ปัจจุบันพัฒนาเป็นสงครามชิประหว่างชาติมหาอำนาจ อะไรคือต้นสายปลายเหตุของการขาดแคลนชิปทั่วโลกในครั้งนี้ ตลอดจนร่วมมองอนาคตของอุตสาหกรรมผลิตชิป เมื่อสหรัฐฯ ตัดสินใจดึงโรงงานผลิตชิปกลับแผ่นดินอเมริกา

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

23 Nov 2021

World

22 Nov 2021

กว่าจะเป็นทางรถไฟล้านช้าง: บทเรียนจากแอฟริกา สู่ สปป.ลาว

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองเส้นทางรถไฟล้านช้าง เชื่อมโยงจีนกับ สปป.ลาว ที่จะเปิดให้บริการวันที่ 2 ธันวาคม 2021 โดยย้อนถอดบทเรียนถึงเส้นทางรถไฟต่างๆ ในทวีปแอฟริกาที่จีนเข้าไปลงทุน

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Nov 2021

Political Economy

17 Nov 2021

เมื่อปัญหาหลักของนโยบายเศรษฐกิจไทย อาจเหมือนกับปัญหาใหญ่ของแมนฯ ยูไนเต็ด

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เปรียบเทียบปัญหาที่เกิดขึ้นกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด กับปัญหานโยบายเศรษฐกิจไทย ซึ่งต่างเน้นสร้างความตื่นเต้นเร้าใจ แต่กลับไร้ซึ่งการเปลี่ยนแปลง

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Nov 2021

Economy

9 Nov 2021

เป็นบ๊วยได้อย่างไร : เมื่อความเหลื่อมล้ำซ้ำเติมความไร้ประสิทธิภาพของรัฐในการจัดการวิกฤตโควิด-19

กัลป์ กรุยรุ่งโรจน์ และ ศุภวิชญ์ สันทัดการ พาไปวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดการจัดการวิกฤตโควิดของรัฐไทยถึงไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งเรื่องนี้เชื่อมโยงอยู่กับความเหลื่อมล้ำอย่างมีนัยยะสำคัญ

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9 Nov 2021

Dancing with Leviathan

8 Nov 2021

จากเศรษฐกิจพันลึก สู่นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกา: การเดินทางของนโยบายอุตสาหกรรมแห่งศตวรรษที่ 21

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ เขียนถึงแนวคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่เริ่มโอบรับ ‘นโยบายอุตสาหกรรม’ แบบญี่ปุ่นมาใช้อย่างซ่อนเร้นในยุค 1980s กระทั่งถูกนำมาใช้อย่างโจ่งแจ้งในยุคปัจจุบัน

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

8 Nov 2021

Economy

3 Nov 2021

สู่สองทศวรรษที่สูญหาย? สิ่งที่ประเทศไทยขาดมากที่สุดคือ ‘ความหวัง’ – กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์

101 ชวนกฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์ ตีโจทย์เศรษฐกิจไทยในยุคหลังโควิด-19 อะไรคือสิ่งที่สังคมไทยจะต้องกลับมา ‘คิดใหม่’ และ ‘ปรับใหญ่’ เรื่องเศรษฐกิจการเมือง พร้อมหาคำตอบว่าเราจะพาเศรษฐกิจไทยหลุดพ้นจากสองทศวรรษแห่งการสูญหายนี้ไปได้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2021

Curious Economist

27 Oct 2021

รุ่งอรุณแห่งเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ ถึงเวลาใช้หลักฐานออกแบบนโยบาย

คอลัมน์ Curious Economist เดือนนี้ รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ (empirical economics) ที่กำลัง ‘ปฏิวัติความน่าเชื่อถือ’ ของวงการเศรษฐศาสตร์และกระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

27 Oct 2021

Economy

25 Oct 2021

ประเทศไทยพร้อมหรือยัง?: เมื่อหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์กำลังจะ disrupt ตลาดแรงงานไทย

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย วิเคราะห์ตลาดแรงงานไทยในยุค automation พร้อมตีแผ่ผลกระทบเชิงประจักษ์จากการเข้ามา ‘ดิสรัป’ ของหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ต่อตลาดแรงงานไทย

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย

25 Oct 2021

Economy

14 Oct 2021

เงิน: จากตลาดเสรีสู่การผูกขาดของรัฐ ตอนที่ 1

วิมุต วานิชเจริญธรรม เล่าถึงประวัติศาสตร์วิวัฒนาการของเงินตรา จากที่เคยหมุนเวียนแลกเปลี่ยนอย่างเสรีโดยเอกชน สู่การผูกขาดโดยภาครัฐ

วิมุต วานิชเจริญธรรม

14 Oct 2021

Economic Focus

6 Oct 2021

Stagflation เงินเฟ้อสูงแต่เศรษฐกิจไม่ดี ความท้าทายต่อธุรกิจและธนาคารกลาง

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มองปรากฏการณ์ stagflation ซึ่งคือภาวะที่เศรษฐกิจชะลอตัวแต่เงินเฟ้อสูง ที่หลายประเทศกำลังประสบหลังโควิดเริ่มผ่านพ้น จนอาจเป็นความท้าทายใหญ่ของธุรกิจและธนาคารกลางทั่วโลก

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

6 Oct 2021

Dancing with Leviathan

5 Oct 2021

จาก ‘หุบเขาเม็ดทราย’ สู่ ‘เครือข่ายภูผาหยก’: เมื่อจอมยุทธ์ไต้หวันใน Silicon Valley กลับบ้านเพื่อสร้างอุตสาหกรรมใหม่

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ชวนย้อนดูประสบการณ์ของไต้หวันที่แก้ปัญหาสมองไหล ดึงดูดคนมีความสามารถจาก Silicon Valley กลับมาช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศจนสำเร็จ

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

5 Oct 2021

Curious Economist

26 Sep 2021

ติดโควิด ผิดที่ใคร?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนหาคำตอบว่า ถ้าคนคนหนึ่งติดโควิด-19 คนที่ผิดคือตัวเราเองที่ไม่ระวัง หรือรัฐบาลที่ด้อยประสิทธิภาพในการจัดการวิกฤตกันแน่

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

26 Sep 2021

Life & Culture

21 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ ทำความเข้าใจความจน ก้าวพ้นมายาคติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงหนังสือ ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ (Poor Economics) ผลงานจากสองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยมายาคติที่ฝังลึกเกี่ยวกับความยากจน และการก้ามข้ามกับดักความจน

อิสร์กุล อุณหเกตุ

21 Sep 2021

Economy

16 Sep 2021

การเงินและการธนาคารในโลกคริปโต

วิมุต วานิชเจริญธรรม เล่าถึงบทบาทของเงินคริปโตบนโลกการเงินการธนาคาร ที่กำลังพัฒนาจากการเป็นเพียงสินทรัพย์ทางเลือกสู่การเป็นเงินทางเลือก

วิมุต วานิชเจริญธรรม

16 Sep 2021
1 13 14 15 38

MOST READ

Political Economy

25 Mar 2024

ข้อโต้แย้งไทย-อินเดีย: เกิดอะไรขึ้นกันแน่ในงาน WTO ที่อาบูดาบี

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงดราม่าในที่ประชุม WTO ที่ไม่เพียงแค่สะท้อนภาพใหญ่การค้าข้าวโลก แต่ยังตั้งคำถามต่อจุดยืนของรัฐบาลไทย

Peter Ungphakorn

25 Mar 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Politics

25 Mar 2024

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?

วรดร เลิศรัตน์

25 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save