fbpx

Economy

9 Nov 2021

เป็นบ๊วยได้อย่างไร : เมื่อความเหลื่อมล้ำซ้ำเติมความไร้ประสิทธิภาพของรัฐในการจัดการวิกฤตโควิด-19

กัลป์ กรุยรุ่งโรจน์ และ ศุภวิชญ์ สันทัดการ พาไปวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดการจัดการวิกฤตโควิดของรัฐไทยถึงไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งเรื่องนี้เชื่อมโยงอยู่กับความเหลื่อมล้ำอย่างมีนัยยะสำคัญ

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9 Nov 2021

Economy

3 Nov 2021

สู่สองทศวรรษที่สูญหาย? สิ่งที่ประเทศไทยขาดมากที่สุดคือ ‘ความหวัง’ – กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์

101 ชวนกฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์ ตีโจทย์เศรษฐกิจไทยในยุคหลังโควิด-19 อะไรคือสิ่งที่สังคมไทยจะต้องกลับมา ‘คิดใหม่’ และ ‘ปรับใหญ่’ เรื่องเศรษฐกิจการเมือง พร้อมหาคำตอบว่าเราจะพาเศรษฐกิจไทยหลุดพ้นจากสองทศวรรษแห่งการสูญหายนี้ไปได้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2021

Curious Economist

27 Oct 2021

รุ่งอรุณแห่งเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ ถึงเวลาใช้หลักฐานออกแบบนโยบาย

คอลัมน์ Curious Economist เดือนนี้ รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ (empirical economics) ที่กำลัง ‘ปฏิวัติความน่าเชื่อถือ’ ของวงการเศรษฐศาสตร์และกระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

27 Oct 2021

Economy

25 Oct 2021

ประเทศไทยพร้อมหรือยัง?: เมื่อหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์กำลังจะ disrupt ตลาดแรงงานไทย

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย วิเคราะห์ตลาดแรงงานไทยในยุค automation พร้อมตีแผ่ผลกระทบเชิงประจักษ์จากการเข้ามา ‘ดิสรัป’ ของหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ต่อตลาดแรงงานไทย

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย

25 Oct 2021

Economy

14 Oct 2021

เงิน: จากตลาดเสรีสู่การผูกขาดของรัฐ ตอนที่ 1

วิมุต วานิชเจริญธรรม เล่าถึงประวัติศาสตร์วิวัฒนาการของเงินตรา จากที่เคยหมุนเวียนแลกเปลี่ยนอย่างเสรีโดยเอกชน สู่การผูกขาดโดยภาครัฐ

วิมุต วานิชเจริญธรรม

14 Oct 2021

Economic Focus

6 Oct 2021

Stagflation เงินเฟ้อสูงแต่เศรษฐกิจไม่ดี ความท้าทายต่อธุรกิจและธนาคารกลาง

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มองปรากฏการณ์ stagflation ซึ่งคือภาวะที่เศรษฐกิจชะลอตัวแต่เงินเฟ้อสูง ที่หลายประเทศกำลังประสบหลังโควิดเริ่มผ่านพ้น จนอาจเป็นความท้าทายใหญ่ของธุรกิจและธนาคารกลางทั่วโลก

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

6 Oct 2021

Curious Economist

26 Sep 2021

ติดโควิด ผิดที่ใคร?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนหาคำตอบว่า ถ้าคนคนหนึ่งติดโควิด-19 คนที่ผิดคือตัวเราเองที่ไม่ระวัง หรือรัฐบาลที่ด้อยประสิทธิภาพในการจัดการวิกฤตกันแน่

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

26 Sep 2021

Life & Culture

21 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ ทำความเข้าใจความจน ก้าวพ้นมายาคติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงหนังสือ ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ (Poor Economics) ผลงานจากสองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยมายาคติที่ฝังลึกเกี่ยวกับความยากจน และการก้ามข้ามกับดักความจน

อิสร์กุล อุณหเกตุ

21 Sep 2021

Economy

16 Sep 2021

การเงินและการธนาคารในโลกคริปโต

วิมุต วานิชเจริญธรรม เล่าถึงบทบาทของเงินคริปโตบนโลกการเงินการธนาคาร ที่กำลังพัฒนาจากการเป็นเพียงสินทรัพย์ทางเลือกสู่การเป็นเงินทางเลือก

วิมุต วานิชเจริญธรรม

16 Sep 2021

Economy

7 Sep 2021

คนจนอยู่ไหน? ส่องดาต้าใหม่ๆ ในการตามหาคนจนยามวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด พาไปทำความรู้จักนวัตกรรมการเก็บข้อมูล วัดความยากจนรูปแบบใหม่ๆ เพื่อพัฒนานโยบายช่วยคนจนให้ตอบโจทย์และครอบคลุมมากขึ้นในช่วงวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด

7 Sep 2021

Curious Economist

31 Aug 2021

กายวิภาคของคอร์รัปชัน ปัญหาใหญ่ที่แค่พูดคงจะหยุดไม่ได้

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ผ่ากายวิภาคของการคอร์รัปชัน ในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ ผ่านงานวิจัยเชิงประจักษ์จากหลายประเทศ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

31 Aug 2021

Economy

26 Aug 2021

การศึกษาและต้นทุนในระยะยาวของเศรษฐกิจถดถอย

วิมุต วานิชเจริญธรรม มองความเสียหายทางเศรษฐกิจจากวิกฤตโควิด-19 ที่ไม่ใช่แค่จีดีพีที่หายไปเท่านั้น แต่ยังรวมถึงความสูญเสียทางทุนมนุษย์ จากโอกาสการศึกษาที่หายไป

วิมุต วานิชเจริญธรรม

26 Aug 2021

Economy

24 Aug 2021

คาราบาว’s ‘เมดอินไทยแลนด์’ บทเพลงร่วมสมัยฉลองประเทศไทยในโลกที่สาม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนย้อนฟังหลากหลายบทเพลงของวงคาราบาว ในอัลบั้ม ‘เมดอินไทยแลนด์’ ซึ่งสะท้อนสภาพสังคมไทยได้ดี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

24 Aug 2021

Dancing with Leviathan

24 Aug 2021

หนึ่งวิกฤต หลายเส้นทาง: ความหลากหลายของระบบตลาด กับวิธีแก้วิกฤตและผลกระทบ

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ชวนมองวิธีการรับมือวิกฤติของระบบเศรษฐกิจ 3 แบบ ซึ่งนำมาสู่ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน พร้อมถอดบทเรียนสู่ประเทศไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

24 Aug 2021

Economy

18 Aug 2021

ความมั่งคั่งของชาติ การก้าวข้ามตัวเลข GDP และนัยยะจาก Code Red ด้านสภาพภูมิอากาศ

ฉัตร คำแสง ชวนมองใหม่ตัวเลข ‘GDP’ ที่ไม่ตอบโจทย์การชี้วัดเศรษฐกิจอีกต่อไป ด้วยเหตุผลหนึ่งคือการมองข้ามความเสียหายจากภาวะโลกร้อน ขณะที่ UN เพิ่งออกรายงานเตือนภัยถึงสัญญาณ Code Red ด้านสภาพภูมิอากาศ

ฉัตร คำแสง

18 Aug 2021
1 8 9 10 22

RECOMMENDED

101PUB

18 Mar 2024

ตัวเลขการเติบโตก็ไม่ดี คุณภาพการพัฒนาก็ไม่ได้: แนวโน้มใหญ่เศรษฐกิจไทยและโลก

ชวนสำรวจคุณภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ผ่านมาว่ามีสถานะเป็นอย่างไรบ้างเมื่อเทียบกับสากล เรื่องใดบ้างที่ควรหันมาให้ความสนใจ

สรวิศ มา

18 Mar 2024

Economic Focus

20 Mar 2024

พลิกเกมเศรษฐกิจไทย กับ สมประวิณ มันประเสริฐ และ ณชา อนันต์โชติกุล

101 ชวน ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ รองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มงาน Economic Intelligence Center (EIC) และรองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงานกลยุทธ์องค์กร ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด และ ดร.ณชา อนันต์โชติกุล ผู้อำนวยการอาวุโส KKP Research กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร (KKPFG) มาตั้งโจทย์และตอบคำถามถึงอนาคตเศรษฐกิจไทย

กองบรรณาธิการ

20 Mar 2024

Future | Crisis

29 Feb 2024

วิถี ‘ไทยเบฟ’ กับการเติบโตกลางคลื่นลม: เจริญ – ฐาปน สิริวัฒนภักดี

101 สนทนากับ เจริญ-ฐาปน สิริวัฒนภักดี แห่งไทยเบฟเวอเรจ ถึงวิชาฝ่าวิกฤตในวิถีไทยเบฟและการปรับตัวรับมือความท้าทายใหม่ที่รอคอยอยู่ในอนาคต

กองบรรณาธิการ

29 Feb 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save